ดาวน์โหลดบทความ ดาวน์โหลดบทความ

การหารเครื่องหมายกรณฑ์นั้นโดยเนื้อแท้ก็คือการทำเศษส่วนให้อยู่ในรูปง่ายขึ้นนั่นเอง แน่นอน การที่มันติดเครื่องหมายกรณฑ์อยู่ทำให้กระบวนการมีความซับซ้อนขึ้นมาเล็กน้อย แต่มันก็มีกฎที่ทำให้เราทำเศษส่วนได้อย่างไม่ยากเกินไป กุญแจสำคัญที่ต้องจำไว้คือคุณจะต้องหารตัวสัมประสิทธิ์ด้วยตัวสัมประสิทธิ์ หารตัวถูกถอดกรณฑ์ด้วยตัวถูกถอดกรณฑ์ และจะต้องไม่มีเครื่องหมายกรณฑ์ในตัวหาร

วิธีการ 1
วิธีการ 1 ของ 4:

หารตัวถูกถอดกรณฑ์

ดาวน์โหลดบทความ
  1. หากพจน์ที่ได้มาไม่ได้อยู่ในรูปของเศษส่วน ให้เขียนมันใหม่แบบนั้น นี่จะทำให้ทำตามขั้นตอนที่จำเป็นเวลาหารเครื่องหมายกรณฑ์ได้ง่ายขึ้น จำไว้ว่าขีดเศษส่วนก็คือขีดเครื่องหมายหารนั่นเอง [1]
    • ตัวอย่าง หากคุณต้องคำนวณ , ให้เขียนโจทย์ใหม่เป็นแบบนี้:
  2. หากโจทย์ติดเครื่องหมายกรณฑ์มาทั้งในตัวเศษและตัวหาร คุณสามารถวางตัวถูกถอดกรณฑ์ทั้งสองตัวอยู่ในเครื่องหมายกรณฑ์เดียวกัน [2] (ตัวถูกถอดกรณฑ์คือตัวเลขที่อยู่ในเครื่องหมายกรณฑ์หรือเครื่องหมายรากที่สอง) จะเป็นการทำกระบวนการหาให้อยู่ในรูปง่ายขึ้น
    • ตัวอย่าง สามารถเขียนใหม่เป็น
  3. หารตัวเลขในแบบที่คุณทำกับเลขจำนวนเต็ม ให้แน่ใจว่าได้ใส่ผลหารไว้ในเครื่องหมายกรณฑ์
    • ตัวอย่าง , ดังนั้น
  4. ทอนตัวเลข , ถ้าจำเป็น. หากตัวถูกถอดกรณฑ์เป็นเลขกำลังสองสมบูรณ์ หรือหากหนึ่งในตัวประกอบของมันเป็นเลขกำลังสองสมบูรณ์ คุณจำเป็นต้องทอนพจน์ให้อยู่ในรูปที่ง่ายขึ้น เลขกำลังสองสมบูรณ์คือผลคูณของเลขจำนวนเต็มที่คูณกับตัวมันเอง [3] ตัวอย่าง 25 เป็นเลขกำลังสองสมบูรณ์ เพราะ
    • ตัวอย่าง 4 เป็นเลขกำลังสองสมบูรณ์ เพราะ ดังนั้น:



      ดังนั้น,
    โฆษณา
วิธีการ 2
วิธีการ 2 ของ 4:

แยกตัวประกอบตัวถูกถอดกรณฑ์

ดาวน์โหลดบทความ
  1. คุณน่าจะเห็นพจน์ถูกเขียนในรูปเศษส่วนอยู่แล้ว ถ้าไม่ใช่ก็เปลี่ยนมันเสีย การแก้โจทย์ในรูปเศษส่วนทำให้ทำตามขั้นตอนที่จำเป็นได้ง่ายขึ้น โดยเฉพาะเวลาแยกตัวประกอบของเครื่องหมายกรณฑ์ จำไว้ว่าขีดเศษส่วนก็คือขีดเครื่องหมายหาร [4]
    • ตัวอย่าง หากคุณต้องคำนวณ , ให้เขียนโจทย์เสียใหม่เป็น:
  2. แยกตัวประกอบ ตัวถูกถอดกรณฑ์แต่ละตัว. แยกตัวประกอบตัวเลขเหมือนเวลาเป็นจำนวนเต็ม แต่ยังให้ตัวประกอบที่ได้อยู่ในเครื่องหมายกรณฑ์ [5]
    • ตัวอย่าง:
  3. ในการ ถอดรากที่สอง นั้น ให้เอาตัวประกอบใดที่เป็นเลขกำลังสองสมบูรณ์ออกมา เลขกำลังสองสมบูรณ์คือผลลัพธ์ที่ได้ของเลขจำนวนเต็มที่คูณกับตัวมันเอง [6] ตัวประกอบตอนนี้จะกลายเป็นตัวสัมประสิทธิ์ที่อยู่นอกเครื่องหมายกรณฑ์
    • ตัวอย่าง:


      ดังนั้น,
  4. มันเป็นกฎว่านิพจน์ไม่สามารถมีเครื่องหมายกรณฑ์ติดอยู่ในตัวหารได้ ถ้าเศษส่วนของคุณติดเครื่องหมายกรณฑ์อยู่ในตัวหาร คุณจำเป็นต้องขจัดมันออกไป ซึ่งการจะทำเช่นนั้น คุณต้องคูณตัวเศษกับตัวหารของตัวประกอบด้วยเครื่องหมายกรณฑ์ที่คุณอยากขจัดออก [7]
    • ตัวอย่าง หากนิพจน์คือ , คุณต้องคูณทั้งตัวเศษกับตัวส่วนด้วย เพื่อจะขจัดเครื่องหมายกรณฑ์ในตัวหารออก:



      .
  5. บางทีคุณอาจจะได้ตัวสัมประสิทธิ์ที่ยังสามารถทอนต่ออีกได้ หรือเศษส่วนที่ทอนต่อได้ ให้ทอนจำนวนเต็มทั้งในตัวเศษและตัวส่วนเหมือนที่จะทำในการทอนเศษส่วนปกติ
    • ตัวอย่าง ทอนเป็น , ดังนั้น ทอนเป็น , หรือแค่
    โฆษณา
วิธีการ 3
วิธีการ 3 ของ 4:

หารเครื่องหมายกรณฑ์ด้วยตัวสัมประสิทธิ์

ดาวน์โหลดบทความ
  1. นี่คือตัวเลขที่อยู่นอกเครื่องหมายกรณฑ์ การจะทอนมันให้อยู่ในรูปอย่างง่ายนั้น ให้หารหรือทอนเศษส่วนโดยไม่ต้องไปสนใจเครื่องหมายกรณฑ์ในตอนนี้ [8]
    • ตัวอย่าง หากคุณกำลังคำนวณ , ก่อนอื่นคุณจะต้องทอน ตัวเศษและตัวส่วนสามารถหารได้ด้วยตัวประกอบ 2 ทั้งคู่ ดังนั้น คุณสามารถทอนเป็น:
  2. ถอดรากที่สอง . หากตัวเศษสามารถหารด้วยตัวส่วนได้ลงตัว ก็หารตัวที่ถูกถอดกรณฑ์เลย ถ้าไม่ลงตัว ให้ทอนเครื่องหมายกรณฑ์แต่ละตัวเหมือนที่คุณจะทำกับตัวติดเครื่องหมายกรณฑ์ทั่วไป [9]
    • ตัวอย่าง เนื่องจาก 32 สามารถหารลงตัวด้วย 16 คุณสามารถการเครื่องหมายกรณฑ์:
  3. คูณตัวสัมประสิทธิ์ที่ทอนให้อยู่ในรูปอย่างง่ายนี้ด้วยเครื่องหมายกรณฑ์ที่ถูกทอนลงมา. จำไว้ว่าคุณไม่สามารถมีเครื่องหมายกรณฑ์ติดอยู่ในตัวส่วนได้ ดังนั้นเวลาคูณเศษส่วนด้วยเครื่องหมายกรณฑ์ ให้วางเครื่องหมายกรณฑ์ในตัวเศษ [10]
    • ตัวอย่าง
  4. นี่เรียกว่าการขจัดเครื่องหมายกรณฑ์ออกจากตัวส่วน ตามกฎที่นิพจน์ไม่สามารถมีเครื่องหมายกรณฑ์อยู่ในตัวส่วน การกำจัดก็แค่คูณทั้งเศษและส่วนด้วยเครื่องหมายกรณฑ์ที่คุณต้องการขจัด [11]
    • ตัวอย่าง หากนิพจน์ของคุณคือ , คุณจำต้องคูณทั้งเศษและส่วนด้วย เพื่อขจัดเครื่องหมายกรณฑ์ออกจากตัวส่วน:



    โฆษณา
วิธีการ 4
วิธีการ 4 ของ 4:

หารด้วยทวินามที่มีเครื่องหมายกรณฑ์

ดาวน์โหลดบทความ
  1. ตัวส่วนจะเป็นตัวเลขในโจทย์ที่คุณจะใช้เป็นตัวหาร ทวินามคือพหุนามที่มีสองพจน์ [12] วิธีนี้จะใช้เฉพาะตอนหารเครื่องหมายกรณฑ์ที่มีทวินามอยู่
    • ตัวอย่าง หากคุณกำลังคำนวณ , คุณมีทวินามอยู่ในตัวส่วน เนื่องจาก เป็นพหุนามที่มีสองพจน์
  2. คู่สังยุคคือทวินามที่มีพจน์เหมือนกันแต่เครื่องหมายตรงข้ามกัน [13] การใช้คู่สังยุคจะทำให้คุณสามารถขจัดเครื่องหมายกรณฑ์ออกไปจากตัวส่วนได้
    • ตัวอย่าง และ เป็นคู่สังยุค เนื่องจากพวกมันมีพจน์เหมือนกันแต่เครื่องหมายตรงข้ามกัน
  3. การทำเช่นนี้จะขจัดเครื่องหมายกรณฑ์ได้ เพราะผลของคู่สังยุคคือผลต่างของกำลังสองของแต่ละพจน์ในทวินาม [14] นั่นคือ
    • ตัวอย่าง:





      Thus,
    โฆษณา

เคล็ดลับ

  • เครื่องคิดเลขหลายเครื่องมีปุ่มเศษส่วน ลองใส่ตัวสัมประสิทธิ์ของตัวเศษ กดปุ่มเศษส่วน แล้วใส่ตัวสัมประสิทธิ์ของตัวส่วน เวลาที่คุณกดเครื่องหมาย = เครื่องคิดเลขควรจะเขียนตัวสัมประสิทธิ์ให้อยู่ในพจน์ที่ต่ำที่สุด
  • การหารเครื่องหมายกรณฑ์จะไม่เหมือนกับการบวกและการลบ ตรงที่ไม่จำเป็นต้องทอนตัวถูกถอดกรณฑ์เพื่อเอาตัวกำลังสองสมบูรณ์ออกก่อนจะเริ่มต้น จริงๆ แล้วทางที่ดีก็ไม่ควรทำเช่นนั้น
  • เวลาทำโจทย์ติดเครื่องหมายกรณฑ์ เศษส่วนที่ไม่ลงตัวยังทำได้ง่ายกว่าจำนวนคละ
โฆษณา

คำเตือน

  • ห้ามใส่จุดทศนิยมลงในเศษส่วน เพราะมันจะกลายเป็นเศษส่วนภายในเศษส่วน
  • ห้ามทิ้งเครื่องหมายกรณฑ์ให้ติดอยู่ในตัวส่วนของเศษส่วน แต่ให้ทอนมันหรือขจัดมันออก
  • ห้ามใส่หรือทิ้งจุดทศนิยมหรือจำนวนคละหน้าเครื่องหมายกรณฑ์ แต่ให้เปลี่ยนมันเป็นเศษส่วนแล้วทอนนิพจน์ทั้งหมดให้อยู่ในรูปง่าย
  • หากตัวส่วนของคุณมีการบวกหรือการลบ ให้ใช้วิธีคู่สังยุคเพื่อขจัดเครื่องหมายกรณฑ์ออกจากตัวส่วน
โฆษณา

เกี่ยวกับวิกิฮาวนี้

มีการเข้าถึงหน้านี้ 33,967 ครั้ง

บทความนี้เป็นประโยชน์กับคุณไหม

โฆษณา