ดาวน์โหลดบทความ ดาวน์โหลดบทความ

พหุนามคือนิพจน์ที่ประกอบด้วยพจน์ต่างๆ มาบวกและลบกัน พจน์เหล่านี้ประกอบด้วยค่าคงตัว สัมประสิทธิ์ และตัวแปร เมื่อแก้สมการพหุนาม โดยปกติเราหาค่าของ x โดยมี y=0 พหุนามดีกรีต่ำจะมีหนึ่งคำตอบ สองคำตอบ หรือไม่มีคำตอบ ขึ้นอยู่กับว่าสมการพหุนามนั้นเป็นสมการพหุนามเชิงเส้นหรือสมการพหุนามกำลังสอง เราสามารถแก้สมการพหุนามดังกล่าวได้ง่ายโดยใช้พีชคณิตพื้นฐานและวิธีการแยกตัวประกอบ หากต้องการรู้วิธีแก้สมการพหุนามดีกรีสูง ให้อ่านบทความวิธีการแก้สมการพหุนามดีกรีสูง

วิธีการ 1
วิธีการ 1 ของ 2:

แก้สมการพหุนามเชิงเส้นตรง

ดาวน์โหลดบทความ
  1. พหุนามเชิงเส้นตรงคือพหุนามดีกรีแรก [1] หมายถึงไม่มีตัวแปรที่มีเลขชี้กำลังเกินหนึ่ง เพราะเป็นพหุนามดีกรีแรก จึงมีรากหรือคำตอบที่แท้จริงคำตอบเดียวอย่างชัดเจน [2]
    • ตัวอย่างเช่น คือพหุนามเชิงเส้นตรง เพราะตัวแปร ไม่มีตัวชี้กำลัง (หมายความว่าตัวชี้กำลังเป็น 1)
  2. การตั้งสมการให้เท่ากับศูนย์เป็นขั้นตอนสำคัญในการแก้สมการพหุนามทุกสมการ
    • จากตัวอย่างที่ยกมาเมื่อตั้งสมการให้เท่ากับศูนย์ ก็จะได้เป็น
  3. ทำให้เหลือเพียงพจน์ตัวแปรแค่ตัวเดียวที่ข้างใดข้างหนึ่งของสมการ. ถ้าต้องการให้เหลือเพียงพจน์ตัวแปรแค่ตัวเดียวที่ข้างใดข้างหนี่งของสมการ ให้นำค่าคงตัวมาบวกหรือลบออกจากทั้งสองข้างของสมการ ค่าคงตัวคือพจน์ที่ไม่มีตัวแปร [3]
    • จากตัวอย่างที่ยกมาเราต้องการให้เหลือแค่ ที่ข้างหนึ่งของ นำ มาลบออกจากทั้งสองข้างของสมการ:


  4. โดยปกติเราจะต้องนำสัมประสิทธิ์หารแต่ละข้างของสมการ การนำสัมประสิทธิ์หารแต่ละข้างของสมการจะทำให้เราได้รากหรือคำตอบของสมการพหุนาม
    • จากตัวอย่างที่ยกมาเราจะหาค่า ของ นำ มาหารทั้งสองข้างของสมการ:



      ฉะนั้นคำตอบของ คือ .
    โฆษณา
วิธีการ 2
วิธีการ 2 ของ 2:

แก้สมการพหุนามกำลังสอง

ดาวน์โหลดบทความ
  1. พหุนามกำลังสองคือพหุนามดีกรีสอง [4] หมายถึงไม่มีตัวแปรที่มีเลขชี้กำลังเกิน 2 เพราะเป็นพหุนามดีกรีสอง จึงมีรากจริงสองรากหรือมีคำตอบจริงสองคำตอบ [5]
    • ตัวอย่างเช่น คือพหุนามกำลังสอง เพราะตัวแปร มีตัวชี้กำลังคือ
  2. หมายความว่าพจน์ที่มีตัวชี้กำลังเป็น ต้องอยู่ลำดับแรก ตามด้วยพจน์ดีกรีแรก จากนั้นก็ค่าคงตัว [6]
    • จากตัวอย่างที่ยกมาเมื่อเขียน ใหม่ ก็จะได้เป็น
  3. การตั้งสมการให้เท่ากับศูนย์เป็นขั้นตอนสำคัญในการแก้สมการพหุนามทุกสมการ
    • จากตัวอย่างที่ยกมาเมื่อตั้งสมการให้เท่ากับศูนย์ ก็จะได้เป็น
  4. ในการเขียนนิพจน์ใหม่ให้มีสี่พจน์เราต้องแยกพจน์ดีกรีแรกออกมาก่อน (พจน์ ) หาจำนวนที่บวกกันได้เท่ากับสัมประสิทธิ์ของพจน์ดีกรีแรกและคูณกันได้ค่าคงตัว [7]
    • จากตัวอย่างที่ยกมาสมการกำลังสองของเราคือ เราต้องหาเลขสองจำนวน ( และ ) ที่ และ
    • เนื่องจากเลขสองจำนวนนั้นต้องคูณกันได้ แสดงว่าจำนวนหนึ่งต้องเป็นลบ
    • จะเห็นว่า และ ฉะนั้นเราจะแยก ออกมาเป็น และเขียนสมการพหุนามกำลังสองใหม่เป็น:
  5. แยกพจน์ที่มีร่วมกันของสองพจน์แรกในพหุนามออกมา [8]
    • จากตัวอย่างที่ยกมาสองพจน์แรกใน คือ พจน์ที่ทั้งสองมีร่วมกันคือ ฉะนั้นเมื่อแยกตัวประกอบออกมาแล้ว ก็จะได้เป็น
  6. แยกพจน์ที่มีร่วมกันของสองพจน์สุดท้ายในพหุนามออกมา
    • จากตัวอย่างสองพจน์สุดท้ายของ คือ พจน์ที่ทั้งสองมีร่วมกันคือ ฉะนั้นเมื่อแยกตัวประกอบออกมาแล้ว ก็จะได้เป็น
  7. ทวินามคือนิพจน์ที่มีสองพจน์ เรามีทวินามอยู่แล้วหนึ่งทวินามซึ่งก็คือนิพจน์ในวงเล็บของแต่ละกลุ่ม นิพจน์ในวงเล็บของแต่ละกลุ่มควรจะเหมือนกัน ทวินามกลุ่มที่สองเกิดจากการนำพจน์สองพจน์ที่แยกออกมาจากแต่ละกลุ่มมารวมกัน
    • จากตัวอย่างหลังจากแยกตัวประกอบของแต่ละกลุ่มออกมา กลายเป็น
    • ทวินามกลุ่มแรกคือ
    • ทวินามกลุ่มที่สองคือ
    • ฉะนั้นสมการพหุนามกำลังสองแบบเดิมซึ่งก็คือ สามารถเขียนเป็นนิพจน์ที่แยกตัวประกอบแล้วได้เป็น
  8. หาค่า ในทวินามกลุ่มแรกเพื่อหารากหรือคำตอบแรก [9]
    • จากตัวอย่างที่ยกมาในการหารากแรกของสมการ เราต้องตั้งสมการทวินามกลุ่มแรกให้เท่ากับ และหาค่า ฉะนั้น:



      ฉะนั้นรากแรกของ คือ
  9. หาค่า ในทวินามกลุ่มที่สองเพื่อหาอีกรากหนึ่งหรือคำตอบที่สอง [10]
    • จากตัวอย่างที่ยกมาในการหาอีกรากหนึ่งของสมการ เราต้องตั้งสมการทวินามกลุ่มที่สองให้เท่ากับ และหาค่า ฉะนั้น:



      ฉะนั้นอีกรากหนึ่งของ คือ
    โฆษณา

เคล็ดลับ

  • อย่าตกใจถ้าสมการใช้ตัวแปรที่ต่างออกไปอย่างเช่น t หรือถ้าเห็นว่าสมการถูกตั้งให้เท่ากับ f(x) แทน 0 ถ้าโจทย์ต้องการราก ศูนย์ หรือตัวประกอบ แค่แก้สมการเหมือนกับที่แก้สมการอื่นๆ
  • อย่าลืมลำดับทางคณิตศาสตร์ขณะแก้สมการ คำนวณตัวเลขในวงเล็บเป็นอย่างแรก จากนั้นคูณ หาร สุดท้ายบวกและลบ [11]
โฆษณา

เกี่ยวกับวิกิฮาวนี้

มีการเข้าถึงหน้านี้ 4,973 ครั้ง

บทความนี้เป็นประโยชน์กับคุณไหม

โฆษณา