ดาวน์โหลดบทความ ดาวน์โหลดบทความ

บทความนี้จะสอนวิธีแตกไฟล์ที่อยู่ในแฟ้มโดยใช้คำสั่ง Terminal ใน Linux

ส่วน 1
ส่วน 1 ของ 2:

แตกไฟล์แฟ้มเดียว

ดาวน์โหลดบทความ
  1. สมมติว่า ถ้าแฟ้มอยู่ในรายชื่อ Documents ก็ให้เปิดหาในแฟ้ม Documents
  2. คุณจะต้องพิมพ์ชื่อของแฟ้มให้เหมือนกับที่ปรากฏอยู่ที่แฟ้มเป๊ะๆ
    • อย่าลืมสังเกตว่าชื่อแฟ้มมีการเว้นระยะหรือการใช้ตัวพิมพ์เล็กพิมพ์ใหญ่อย่างไรด้วย
  3. อยู่ที่มุมซ้ายล่างของหน้าจอ
  4. สัญลักษณ์เป็นกล่องสีดำ มีรูป ">_" สีขาวอยู่ด้านบน คุณจะเห็นคำว่า Terminal ในช่องทางซ้ายของหน้าต่างเมนู หรือในรายชื่อโปรแกรมที่อยู่ภายในหน้าต่างเมนู
    • คุณยังสามารถค้นหา Terminal ได้โดยการคลิกที่ช่องค้นหาด้านบนหน้าต่างเมนูแล้วพิมพ์ว่า terminal .
  5. แทนที่ส่วนของคำสั่งที่เขียนว่า "filename" ด้วยชื่อแฟ้มที่ต้องการแตกไฟล์
    • ยกตัวอย่างเช่น ถ้าแฟ้มของคุณชื่อว่า "BaNaNa" คุณก็พิมพ์ว่า unzip BaNaNa.zip ใส่ใน Terminal
  6. เมื่อกดแล้วเครื่องจะทำตามคำสั่งและแตกไฟล์ในแฟ้มที่คุณเลือก
    โฆษณา
ส่วน 2
ส่วน 2 ของ 2:

แตกไฟล์ของทุกๆ แฟ้มที่อยู่ในภายอีกแฟ้มหนึ่ง

ดาวน์โหลดบทความ
  1. ทำได้โดยการเปิดแฟ้มหลักที่มีแฟ้มบรรจุไฟล์บีบอัดอยู่
    • ถ้าจะใช้คำสั่งแตกไฟล์กับทุกแฟ้มในรายชื่อของคุณ อาจทำให้คุณแตกไฟล์ในแฟ้มบางแฟ้มที่ไม่ได้ตั้งใจจะแตกไฟล์ก็ได้
  2. เป็นการใช้คำสั่ง "pwd" ซึ่งจะทำให้รายชื่อภายในแฟ้มปัจจุบันของคุณปรากฏขึ้นมา [1]
    • ขั้นตอนนี้มีไว้เพียงเพื่อให้มั่นใจว่าคุณเปิดแฟ้มที่ถูกต้องก่อนจะแตกไฟล์
  3. คำสั่งนี้จะค้นหาแฟ้มใดๆ ก็ตามที่เป็นตระกูล ".zip" ในแฟ้มที่เปิดอยู่
    • การใส่เครื่องหมายคำพูดรอบๆ ส่วน *.zip ของคำสั่ง เป็นการจำกัดคำสั่งให้อยู่ในแค่แฟ้มที่เปิดไว้อยู่
  4. เมื่อกดแล้วเครื่องจะทำตามคำสั่งและแตกไฟล์ คุณสามารถดูไฟล์ได้ในแฟ้มที่บรรจุมันเอาไว้
    • ถ้าคำสั่งนี้ใช้ไม่ได้ผล ให้ลองพิมพ์ว่า unzip /*zip ใส่ใน Terminal แทน
    โฆษณา

เคล็ดลับ

  • ระบบ Linux บางระบบมีช่องสำหรับพิมพ์ "Command Line" อยู่ด้านบนของหน้าจอ สิ่งนี้จะทำหน้าที่เหมือนกับคำสั่ง Terminal เลย
โฆษณา

คำเตือน

  • การใช้คำสั่ง "unzip *.zip" เมื่ออยู่ในแฟ้มที่ผิดจะทำให้ไฟล์ในแฟ้มนั้นถูกแตกออกมาหมด ส่งผลให้แฟ้มนั้นรกไปโดยปริยาย
  • ถ้าคุณติดตั้ง interface แบบที่ออกแบบพิเศษสำหรับ Linux วิธีเปิด Terminal อาจจะต่างกับวิธีที่อยู่ในบทความนี้
โฆษณา

ข้อมูลอ้างอิง

เกี่ยวกับวิกิฮาวนี้

มีการเข้าถึงหน้านี้ 7,388 ครั้ง

บทความนี้เป็นประโยชน์กับคุณไหม

โฆษณา