ดาวน์โหลดบทความ ดาวน์โหลดบทความ

บทความวิกิฮาวนี้จะแนะนำวิธีการลบไฟล์ทั่วไปที่ลบไปจากคอมไม่ได้สักที ส่วนใหญ่ที่ลบไฟล์ไม่ได้เพราะมีบางโปรแกรมหรือ service ที่ยังใช้ไฟล์นั้นอยู่ ให้บูทเครื่องเข้า Safe Mode เพื่อเปิดเฉพาะโปรแกรมและ service ที่จำเป็น จะได้หาสาเหตุเจอ ถ้าไฟล์เสียหรือคอมขึ้นเตือนว่าหาไฟล์ไม่เจอ ให้แก้ disk errors ของฮาร์ดไดรฟ์ น่าจะช่วยได้ บทความวิกิฮาวนี้ไม่ได้แนะนำวิธีการลบไฟล์ระบบ เพราะเสี่ยงทำคอมเจ๊งได้ง่ายๆ โดยเฉพาะคนที่ไม่เชี่ยวชาญ

วิธีการ 1
วิธีการ 1 ของ 4:

ลบไฟล์ใน Safe Mode ของ Windows

ดาวน์โหลดบทความ
  1. คอมจะรีสตาร์ทตามปกติ แต่อย่าเพิ่งปล่อยปุ่ม Shift จนกว่าจะถึงขั้นตอนถัดไป
  2. พอจอฟ้า ก็ปล่อยปุ่ม Shift แล้วทำขั้นตอนต่อไปได้เลย
  3. ตรงกลางหน้าจอ
  4. ที่อยู่ตรงกลางหน้าจอ
  5. ที่เป็นตัวเลือกทางขวาของหน้า
  6. ทางด้านล่างของหน้าจอ
  7. ปกติปุ่มที่ว่าคือ 4 แต่ให้เช็คปุ่มที่ถูกต้อง โดยดูเลขที่ขึ้นทางซ้ายของตัวเลือก "Safe Mode" พอกดปุ่มที่ว่าแล้ว คอมจะรีสตาร์ทเข้า Safe Mode
  8. พอคอมรีสตาร์ทแล้ว ให้ไปยังตำแหน่งที่มีไฟล์ที่จะลบ
  9. คลิกเลือกไฟล์ที่จะลบ
  10. เพื่อย้ายไฟล์ไปอยู่ในถังขยะ หรือ Recycle Bin
  11. พอย้ายไฟล์ที่ว่าลงถังขยะหรือ Recycle Bin แล้ว ก็ทำขั้นตอนด้านล่างเพื่อลบไฟล์จากเครื่อง Windows แบบถาวรได้เลย
    • คลิกขวาที่ไอคอน Recycle Bin
    • คลิก Empty Recycle Bin ในเมนูที่ขยายลงมา
    • คลิก Yes ตอนที่ขึ้น
  12. ทำตามขั้นตอนต่อไปนี้ เพื่อออกจาก Safe Mode
    • คลิก Start
    • คลิก Power
    • คลิก Restart
    โฆษณา
วิธีการ 2
วิธีการ 2 ของ 4:

ลบไฟล์ใน Safe Mode ของ Mac

ดาวน์โหลดบทความ
  1. ในเมนูที่ขยายลงมา
  2. เพื่อให้ Mac รีสตาร์ท
  3. โดยรีบกดทันทีหลังคลิก Restart Now และกดค้างไว้จนถึงขั้นตอนถัดไป
  4. เพื่อให้ Mac บูทเครื่องเข้า Safe Mode ไม่ใช้ boot settings ปกติ [2]
  5. ไปยังตำแหน่งที่มีไฟล์ที่จะลบ
  6. คลิกเลือกไฟล์ที่จะลบ
    • ถ้าอยากลบทีละหลายไฟล์ในตำแหน่งเดียว ให้กด Command ค้างไว้ แล้วคลิกเลือกแต่ละไฟล์ที่จะลบ
  7. ทางด้านบนของหน้าจอ แล้วเมนูจะขยายลงมา
  8. ในเมนูที่ขยายลงมา เพื่อย้ายไฟล์ลงถังขยะ หรือ Trash
  9. พอย้ายไฟล์ที่ว่าลงถังขยะหรือ Trash แล้ว ก็ทำขั้นตอนด้านล่างเพื่อลบไฟล์จากเครื่อง Mac แบบถาวรได้เลย
    • คลิกไอคอน Trash ค้างไว้
    • คลิก Empty Trash ในเมนูที่โผล่มา
    • คลิก Empty ตอนที่ขึ้น
  10. ทำขั้นตอนต่อไปนี้เพื่อออกจาก Safe Mode
    • คลิก Apple menu
    • คลิก Restart...
    • คลิก Restart Now ตอนที่ขึ้น
    โฆษณา
วิธีการ 3
วิธีการ 3 ของ 4:

แก้ไข Disk Errors ใน Windows

ดาวน์โหลดบทความ
  1. เวลาจะ repair หรือแก้ disk errors ของ Windows ควร (ไม่บังคับ) ปิดไฟล์ไหนที่เปิดอยู่ซะก่อน เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาเพิ่มเติม
  2. คลิกหรือดับเบิลคลิกไอคอน This PC ที่เป็นรูปหน้าจอคอม
    • ถ้า This PC ไม่อยู่ที่หน้า desktop หรือในเมนู Start ให้พิมพ์ this pc ใน Start แล้วคลิก This PC ทางด้านบนของผลการค้นหา
  3. คลิกเลือกฮาร์ดไดรฟ์ (ปกติจะเขียนว่า OS (C:) ) ล่างหัวข้อ "Devices and drives"
    • คุณดับเบิลคลิกขยายหัวข้อ "Devices and drives" ออกมาได้ ถ้าไม่เจอรายชื่อฮาร์ดไดรฟ์
    • ถ้าในคอมมีมากกว่า 1 ฮาร์ดไดรฟ์ ให้คลิกฮาร์ดไดรฟ์ที่มีไฟล์ที่จะลบ
  4. แล้วเมนูจะขยายลงมา
  5. ในเมนูที่ขยายลงมา เพื่อเปิดหน้าต่าง pop-up
  6. ทางด้านบนของหน้าต่าง pop-up
  7. ทางด้านบนของหน้าต่าง
  8. เพื่อให้ Windows เริ่มสแกนฮาร์ดไดรฟ์หา error
    • ถ้า Windows สแกนเจอ error ก็จะ repair อัตโนมัติ (ถ้าทำได้)
  9. ใช้เวลาตั้งแต่หลายนาที ไปจนถึงหลายชั่วโมง แล้วแต่ขนาดของฮาร์ดไดรฟ์ที่เลือก รวมถึงจำนวนของ error
  10. พอแก้ error ในฮาร์ดไดรฟ์แล้ว ก็น่าจะลบไฟล์ (ที่ตอนแรกลบไม่ได้เพราะ error ในฮาร์ดไดรฟ์) ได้แล้ว
    • อาจจะยังต้อง เข้า Safe Mode เวลาจะลบไฟล์ ถ้ามีโปรแกรมหรือ service ไหนใช้ไฟล์นั้นอยู่
    • ถ้าสรุปแล้วก็ยังลบไฟล์ไม่ได้ แสดงว่าไฟล์ถูก user ไหนล็อคไว้ หรือเป็นไฟล์ระบบที่จำเป็น ไม่ว่าด้วยสาเหตุไหนที่ว่ามา ก็จะลบไฟล์นั้นไม่ได้อยู่ดี
    โฆษณา
วิธีการ 4
วิธีการ 4 ของ 4:

แก้ไข Disk Errors ใน Mac

ดาวน์โหลดบทความ
  1. ในเมนูที่ขยายลงมา
  2. เพื่อรีสตาร์ท Mac
  3. ทันทีหลังคลิก Restart Now และกดค้างไว้จนกว่าจะถึงขั้นตอนถัดไป
  4. เมนู Recovery จะเปิดขึ้นมา
    • อาจจะต้องรอ 2 - 3 นาที กว่าเมนู Recovery จะโผล่มา
  5. ที่กลางหน้าจอ
  6. ที่มุมขวาล่างของหน้าจอ เพื่อเปิดหน้าต่าง Disk Utility
  7. ที่เป็นเมนูทางด้านบนของหน้าจอ แล้วเมนูจะขยายลงมา
  8. ในเมนูที่ขยายลงมา แล้วจะเห็นรายชื่อ storage เก็บข้อมูลต่างๆ ใน Mac โผล่มาทางซ้ายของหน้าจอ
  9. คลิกเลือกฮาร์ดไดรฟ์ของ Mac ในกรอบทางซ้าย
    • ถ้า Mac มีมากกว่า 1 ฮาร์ดไดรฟ์ ต้องเช็คให้ดีว่าคลิกเลือกฮาร์ดไดรฟ์ที่มีไฟล์ที่จะลบ
  10. ที่เป็น tab รูปหูฟังคุณหมอ ทางด้านบนของหน้าต่าง [3]
  11. เพื่อให้ Disk Utility เริ่มสแกนและ repair หรือซ่อมแซมแก้ไขข้อผิดพลาดและ error ต่างๆ ในฮาร์ดไดรฟ์ของ Mac
  12. ถ้า Disk Utility ขึ้นเตือน error "overlapped extent allocation" จะมีให้เลือกทำขั้นตอนต่อไป กรณีนี้คุณก็เลือกลบไฟล์ที่เสียหายจากในรายการที่เกี่ยวข้องได้เลย ถ้าเห็นไฟล์ที่จะลบในรายการ ก็เลือกเพื่อลบก่อนทำขั้นตอนต่อไป
  13. พอ Disk Utility ทำงานเสร็จ ก็รีสตาร์ท Mac ได้เลย โดยคลิก Apple menu คลิก Restart... แล้วคลิก Restart Now ตอนที่ขึ้น
  14. พอแก้ปัญหาในฮาร์ดไดรฟ์แล้ว ก็น่าจะลบไฟล์ (ที่ตอนแรกลบไม่ได้เพราะ error ในฮาร์ดไดรฟ์) ได้แล้ว
    • อาจจะยังต้อง เข้า Safe Mode เวลาจะลบไฟล์ ถ้าโปรแกรมตั้งต้นของเครื่องต้องใช้ไฟล์นั้นตลอด
    • ถ้าสรุปแล้วก็ยังลบไฟล์ไม่ได้ แสดงว่าไฟล์ถูก user ไหนล็อคไว้ หรือเป็นไฟล์ระบบที่จำเป็น ไม่ว่าด้วยสาเหตุไหนที่ว่ามา ก็จะลบไฟล์นั้นไม่ได้อยู่ดี
    โฆษณา

เคล็ดลับ

  • Safe Mode จะปิดการทำงานของโปรแกรมและ service ส่วนใหญ่ในคอม เพื่อให้แน่ใจว่าไม่รบกวน process อย่างการลบไฟล์ที่ลบไม่ได้สักที
  • ไฟล์ระบบ (system-level files) อย่างไฟล์ DLL ของคอม Windows เป็นตัวทำให้คอมทำงานได้และมีหน้าตาอย่างที่คุณเห็นในหน้าจอ
โฆษณา

คำเตือน

  • ลบไฟล์ระบบแล้ว คอมเจ๊ง แน่นอน ถ้าไม่ลงระบบปฏิบัติการใหม่ ก็ต้องซื้อคอมใหม่ยกเครื่องเลย
โฆษณา

บทความวิกิฮาวอื่น ๆ ที่่เกี่ยวข้อง

เกี่ยวกับวิกิฮาวนี้

มีการเข้าถึงหน้านี้ 47,481 ครั้ง

บทความนี้เป็นประโยชน์กับคุณไหม

โฆษณา