ดาวน์โหลดบทความ ดาวน์โหลดบทความ

บทความวิกิฮาวนี้จะแนะนำวิธีการติดตั้ง Windows 10 ใน PC ที่ใช้ Ubuntu Linux อยู่แล้วให้คุณเอง ก่อนจะเริ่มขั้นตอน ต้องมี license และ product key ของ Windows ซะก่อน ถ้าไม่มีอุปกรณ์สำหรับใส่ไฟล์ติดตั้ง Windows ก็ไม่เป็นไร เพราะคุณสร้างไดรฟ์ USB สำหรับบูทเครื่อง จากไฟล์อิมเมจ ISO ที่ดาวน์โหลดมาได้เลย พอคุณติดตั้ง Windows แล้ว ต้องติดตั้ง tool ชื่อ EasyBCD ด้วย จะได้สลับไปมาระหว่าง 2 ระบบปฏิบัติการได้ ตอนรีสตาร์ทเครื่อง

ส่วน 1
ส่วน 1 ของ 4:

แบ่งพาร์ทิชั่น NTFS หลักให้ Windows

ดาวน์โหลดบทความ
  1. Gparted เป็น partition tool ฟรี มีเมนูแบบ graphical user interface ให้เห็นชัดเจนและใช้งานสะดวก คุณดาวน์โหลดได้จาก Software Center หรือใช้คำสั่ง sudo apt-get install gparted ใน command line
    • ถ้าแบ่งพาร์ทิชั่นให้ Windows ไปแล้ว แต่ไม่ใช่ Primary Partition หรือพาร์ทิชั่นหลัก ก็ต้องสร้างขึ้นมาใหม่ [1]
  2. จะเห็นรายชื่อไดรฟ์และพาร์ทิชั่นทั้งหมด
  3. คลิกขวาที่พาร์ทิชั่นหรือไดรฟ์ที่จะแก้ไข แล้วเลือก Resize/Move . เพื่อแบ่งพาร์ทิชั่นใหม่ ออกมาจากของเดิมที่มี
  4. กำหนดขนาดของพาร์ทิชั่นใหม่ (เป็น MB) โดยพิมพ์ในช่อง "Free space following". ปกติให้ allocate หรือสำรองพื้นที่ไว้ให้ Windows 10 อย่างน้อย 20 GB (20000 MB) แต่ถ้าจะติดตั้งแอพต่างๆ และใช้งาน Windows เป็นประจำ ก็ต้องมากกว่านั้น [2]
  5. ทางขวาของหน้าต่าง
  6. ทางขวาของหน้าต่าง
  7. เพื่อให้ระบุพาร์ทิชั่นได้ง่ายๆ
  8. มุมขวาล่างของหน้าต่าง
  9. ใน toolbar ทางด้านบนของ Gparted เพื่อสร้างพาร์ทิชั่น ขั้นตอนนี้ใช้เวลาหน่อย พอพาร์ทิชั่นพร้อมใช้แล้ว ให้คลิก Close มุมขวาล่างของหน้าต่าง
    โฆษณา
ส่วน 2
ส่วน 2 ของ 4:

สร้างไดรฟ์ติดตั้ง Windows 10 ใน Ubuntu

ดาวน์โหลดบทความ
  1. เป็นแอพฟรีใช้สร้างไดรฟ์ USB สำหรับบูทเครื่อง ใน Ubuntu ถ้าอยากรู้เรื่อง UNetbootin เพิ่มเติม ลองเข้าไปอ่านในเว็บ https://unetbootin.github.io ดู
    • ต้องใช้ไดรฟ์ USB ว่าง ที่จุอย่างน้อย 8 GB ขึ้นไป ในการสร้างอุปกรณ์ติดตั้ง โดยข้อมูลทั้งหมดในไดรฟ์ USB จะถูกลบหายไประหว่างขั้นตอน [3]
    • ถ้าสงสัยตรงไหน ลองหาอ่านรายละเอียดขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรมใน Ubuntu เพิ่มเติมดู
  2. เข้าเว็บ https://www.microsoft.com/en-us/software-download/windows10 ในเบราว์เซอร์. ถ้ายังไม่มีแผ่น DVD หรือไดรฟ์ USB ไว้บูท Windows ก็สร้างเองได้จากไฟล์ ISO ที่ดาวน์โหลดมา
    • ต้องมี license ก่อน ถึงจะติดตั้ง Windows 10 ได้ เพราะฉะนั้นต้องซื้อ Windows 10 แล้วได้ product key ที่ใช้การได้มาซะก่อน
  3. จะมีตัวเลือกเพิ่มเติมขยายลงมาด้านล่างของหน้า
  4. ให้เลือกภาษาจากในเมนูที่ขยายลงมา ล่าง "Select the product language"
  5. เพื่อดาวน์โหลดไฟล์ ISO ไว้ในโฟลเดอร์ download หลักของเครื่อง
  6. จะเห็นหน้าแรกของ UNetbootin มีให้เลือกค่าต่างๆ ของไดรฟ์ที่ใช้บูทเครื่อง
  7. ที่มุมซ้ายล่างของหน้าต่าง
  8. ทางขวาของปุ่มกลม
  9. เพื่อเปิด file browser
  10. ที่ลงท้ายด้วย .iso
  11. ที่มุมซ้ายล่างของหน้าต่าง
  12. เป็นชื่ออุปกรณ์ของไดรฟ์ USB
    • ถ้าเลือกไดรฟ์ USB ไม่ได้ ก็ต้องฟอร์แมต file system เป็น FAT32 ก่อน ทำได้ใน file manager โดยคลิกขวาที่ไดรฟ์ USB แล้วเลือก Format [4]
  13. เพื่อสร้างไดรฟ์ USB สำหรับบูท Windows 10 จากไฟล์อิมเมจ ISO พอไดรฟ์พร้อมใช้ จะขึ้นว่า "Installation Complete"
  14. โฆษณา
ส่วน 3
ส่วน 3 ของ 4:

เปิดไฟล์ติดตั้ง Windows

ดาวน์โหลดบทความ
  1. ขั้นตอนการบูทเครื่องเข้า BIOS/UEFI จะต่างกันไปตามยี่ห้อและรุ่น PC ที่ใช้ ปกติจะต้องกดปุ่มเฉพาะ (ส่วนใหญ่เป็น F2 , F10 , F1 หรือ Del ) ทันทีที่คอมเปิดเครื่องขึ้นมา
    • เสียบไดรฟ์ USB ที่พอร์ท USB ว่าง ถ้ายังไม่ได้ทำ
  2. ตั้งค่าให้ไดรฟ์ USB เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้บูทเครื่อง. ปกติจะอยู่ในเมนู "Boot" หรือ "Boot Order" โดยขั้นตอนจะต่างกันไปตาม PC แต่จะมีให้เลือก USB Drive เป็น 1st Boot Device ลองเข้าไปเช็คในเว็บยี่ห้อ PC ที่ใช้ดู ถ้าอยากรู้รายละเอียด BIOS/UEFI เพิ่มเติม
  3. BIOS/UEFI ส่วนใหญ่ จะมีปุ่มให้กด "Save" และ "Exit" บอกไว้ชัดเจนในหน้าจอ พอออกจาก BIOS/UEFI แล้ว คอมจะบูทเครื่องจากไดรฟ์ USB แล้วมีหน้าต่าง "Windows Setup" โผล่มา
  4. ที่เป็นตัวเลือกที่ 2 ในหน้าต่าง แล้วจะเห็นรายชื่อพาร์ทิชั่น
  5. นี่คือพาร์ทิชั่นใหม่ที่เพิ่งสร้าง เท่านี้ก็ติดตั้ง Windows ในพาร์ทิชั่นที่เลือกเรียบร้อย
  6. พอติดตั้งเสร็จแล้ว ก็บูทเครื่องเข้า Windows ได้เลย
  7. พอติดตั้ง Windows แล้ว ต้องติดตั้ง tool ที่จะทำให้ dual-boot คือใช้งานควบคู่ไปกับ Ubuntu ที่ติดตั้งไว้ได้
    • ลองหาอ่านเพิ่มเติมในเน็ตดู ถ้าอยากรู้ขั้นตอนการเชื่อมต่อ Wi-Fi ใน Windows 10 โดยละเอียด (หรือวิธีการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตทั่วไป)
    โฆษณา
ส่วน 4
ส่วน 4 ของ 4:

ตั้งค่าให้ใช้งาน 2 ระบบได้ (Dual Boot)

ดาวน์โหลดบทความ
  1. ปกติจะอยู่ในเมนู Start ที่มุมซ้ายล่างของหน้าจอ ขั้นตอนสุดท้ายก็คือตั้งค่าให้คอมบูทเครื่องเข้า Windows 10 หรือ Ubuntu ได้ทั้ง 2 ระบบ ตอนเปิดเครื่อง
  2. เข้าเว็บ https://neosmart.net/EasyBCD . EasyBCD เป็น tool ฟรี ใช้ตั้งค่าให้ dual-boot ได้จากใน Windows
  3. เพื่อไปยังหน้าลงทะเบียน
  4. ปกติจะเริ่มดาวน์โหลดทันที แต่อาจจะต้องคลิก Save หรือ Download ก่อนเพื่อยืนยัน
  5. เป็นไฟล์ที่เริ่มด้วย EasyBCD ปกติอยู่ทางด้านล่างของเบราว์เซอร์ ถ้าไม่เจอ ให้กด Ctrl + J เพื่อเปิดรายชื่อ Downloads แล้วคลิกในนั้น
  6. พอติดตั้งแอพแล้ว จะไปโผล่ในเมนู Start
  7. ในเมนู Start โดยคลิกปุ่ม Windows มุมซ้ายล่างของหน้าจอ
  8. ทางด้านบนของแอพ
  9. ทางด้านบนของ tab
  10. ล่างเมนู "Type" เพื่อให้ Ubuntu โผล่มาในเมนู boot
  11. ล่างเมนู "Drive" เพื่อเพิ่มตัวเลือก Ubuntu ไปในเมนู นอกเหนือไปจากการบูทเข้า Windows ตามปกติ [5]
  12. คุณรีสตาร์ทคอมได้โดยคลิกเมนู Start เลือกปุ่ม Power (เหมือนลูกบิด) แล้วเลือก Restart พอ PC เปิดกลับมา จะบูทเข้าหน้าจอสำหรับเลือกว่าจะใช้ระบบ Windows 10 หรือ Ubuntu พอเลือกระบบไหนไป ก็จะบูทเครื่องเข้าระบบปฏิบัติการนั้น
    โฆษณา

บทความวิกิฮาวอื่น ๆ ที่่เกี่ยวข้อง

เกี่ยวกับวิกิฮาวนี้

มีการเข้าถึงหน้านี้ 4,905 ครั้ง

บทความนี้เป็นประโยชน์กับคุณไหม

โฆษณา