ดาวน์โหลดบทความ ดาวน์โหลดบทความ

การหาค่าของเลขยกกำลังเป็นทักษะพื้นฐานในวิชาพีชคณิตเบื้องต้นซึ่งนักเรียนต้องเรียนรู้ โดยปกติเราจะเห็นเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มและบางครั้งก็เป็นเศษส่วน แต่ไม่ค่อยเห็นเลขชี้กำลังเป็นทศนิยมเท่าไร เมื่อเราเห็นเลขชี้กำลังเป็นทศนิยม แปลงทศนิยมให้เป็นเศษส่วน จากนั้นนำหลักและกฎเกี่ยวกับเลขชี้กำลังมาใช้หาค่าของเลขยกกำลัง

ส่วน 1
ส่วน 1 ของ 3:

หาค่าของเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นทศนิยม

ดาวน์โหลดบทความ
  1. เราต้องดูค่าประจำหลักของทศนิยมก่อนที่จะแปลงทศนิยมให้เป็นเศษส่วน ตัวส่วนของเศษส่วนจะเป็นค่าประจำหลัก ตัวเลขของทศนิยมจะเป็นตัวเศษ
    • ตัวอย่างเช่น เป็นเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นทศนิยม เราจะต้องแปลง ให้เป็นเศษส่วน เนื่องจากทศนิยมมีถึงหลักส่วนร้อย ฉะนั้นเศษส่วนที่มีค่าตรงกันคือ .
  2. เนื่องจากดัชนีของกรณฑ์ต้องตรงกับตัวส่วนของเลขชี้กำลัง ฉะนั้นเราจึงต้องทำให้ตัวส่วนของเลขชี้กำลังน้อยเข้าไว้ ทำให้เป็นเศษส่วนอย่างต่ำเพื่อให้ตัวส่วนของเลขชี้กำลังน้อยลง ถ้าเศษส่วนนั้นเป็นจำนวนคละ (นั่นคือในกรณีที่ทศนิยมมากกว่า 1) แปลงจำนวนคละให้เป็นเศษเกิน
    • จากตัวอย่างที่ยกมาเมื่อทำ ให้เป็นเศษส่วนอย่างต่ำ ก็จะได้เป็น ฉะนั้น
  3. เมื่อต้องการเขียนเลขชี้กำลังให้อยู่ในรูปของการคูณ แปลงตัวเศษให้เป็นจำนวนเต็มและนำมาคูณกับเศษส่วนหน่วย เศษส่วนหน่วยเป็นเศษส่วนที่มีตัวส่วนเหมือนเดิม แต่มีตัวเศษเป็น 1
    • ในตัวอย่างเดิมเนื่องจาก เราสามารถเขียนเลขชี้กำลังให้อยู่ในรูปของการคูณได้เป็น
  4. อย่าลืมว่าเลขชี้กำลังนำมาคูณกันได้ เมื่อเลขชี้กำลังซ้อนกัน ฉะนั้น ก็จะกลายเป็น [1]
    • ในตัวอย่างเดิมเมื่อเขียนตัวชี้กำลังให้ซ้อนกัน ก็จะได้
  5. เขียนเลขฐานและเลขชี้กำลังตัวแรกให้อยู่ในรูปกรณฑ์. จำนวนใดที่มีตัวเลขชี้กำลังเป็นตรรกยะจะมีค่าเท่ากับจำนวนนั้นในเครื่องหมายกรณฑ์ ฉะนั้นเขียนเลขฐานและเลขชี้กำลังตัวแรกให้อยู่ในรูปกรณฑ์
    • ในตัวอย่างเดิมเนื่องจาก เราสามารถเขียนเลขฐานและเลขชี้กำลังตัวแรกให้อยู่ในรูปกรณฑ์ได้เป็น [2]
  6. ดูดัชนี (ตัวเลขเล็กๆ ที่อยู่นอกเครื่องหมายกรณฑ์) เราจะได้รู้ว่าต้องหารากที่เท่าไรของจำนวนในเครื่องหมายกรณฑ์ ถ้าจำนวนนั้นมีค่าเยอะมาก ให้ใช้ ของเครื่องคิดเลขวิทยาศาสตร์
    • ในตัวอย่างเดิมหากต้องการหาค่าของ เราต้องรู้ว่าจำนวนไหนคูณกัน 4 ครั้ง ถึงจะเท่ากับ 81 เนื่องจาก เราจึงได้ ฉะนั้นตอนนี้เลขยกกำลังคือ
  7. ตอนนี้ตัวเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มแล้ว ฉะนั้นการหาค่าของเลขยกกำลังจึงเป็นเรื่องง่าย ถ้าตัวเลขมีค่าเยอะเกินไป เราจะใช้เครื่องคิดเลขช่วยคำนวณก็ได้
    • ในตัวอย่างเดิม ฉะนั้น
    โฆษณา
ส่วน 2
ส่วน 2 ของ 3:

ลองแก้โจทย์ตัวอย่าง

ดาวน์โหลดบทความ
  1. หาค่าของ .
  2. เนื่องจาก มีค่ามากกว่า 1 ฉะนั้นเมื่อแปลงเป็นเศษส่วน จึงกลายเป็นจำนวนคละ
    • เท่ากับ ฉะนั้น .
  3. แปลงจำนวนคละให้เป็นเศษเกินก่อน จากนั้นทำให้เป็นเศษส่วนอย่างต่ำ ถ้าทำได้
    • เนื่องจากเมื่อทำให้ เป็นเศษส่วนอย่างต่ำ ก็จะได้เป็น ฉะนั้น
    • แปลงจำนวนคละเป็นเศษเกิน ก็จะได้เป็น ฉะนั้น
  4. เนื่องจาก เราสามารถเขียนเลขชี้กำลังให้อยู่ในรูปของการคูณได้เป็น
  5. ฉะนั้น
  6. เขียนเลขฐานและเลขชี้กำลังตัวแรกให้อยู่ในรูปกรณฑ์. ฉะนั้นเราสามารถเขียนเลขฐานและเลขชี้กำลังตัวแรกให้อยู่ในรูปกรณฑ์ได้เป็น
  7. ฉะนั้นเลขยกกำลังของเราในตอนนี้คือ
  8. ฉะนั้น
    โฆษณา
ส่วน 3
ส่วน 3 ของ 3:

ทำความเข้าใจเรื่องเลขยกกำลัง

ดาวน์โหลดบทความ
  1. เลขยกกำลังประกอบด้วยเลขฐานและเลขชี้กำลัง เลขฐานคือเลขตัวใหญ่ของเลขยกกำลัง เลขชี้กำลังคือเลขตัวเล็ก [3]
    • ตัวอย่างเช่น เป็นเลขยกกำลัง โดย คือเลขฐานและ คือเลขชี้กำลัง
  2. รู้ว่าส่วนประกอบแต่ละส่วนของเลขยกกำลังมีหน้าที่อะไร. เลขฐานคือเลขที่จะนำมาคูณกัน เลขชี้กำลังจะเป็นตัวบอกเราว่าต้องนำเลขฐานมาคูณกันกี่ครั้ง [4]
    • ตัวอย่างเช่น
  3. รู้ว่าเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนตรรกยะมีลักษณะอย่างไร. เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นจํานวนตรรกยะจะเรียกอีกอย่างว่าเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นเศษส่วน เพราะส่วนประกอบที่เป็นเลขชี้กำลังจะอยู่ในรูปเศษส่วน [5]
    • ตัวอย่างเช่น
  4. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนในเครื่องหมายกรณฑ์และเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นเศษส่วน. เลขยกกำลัง เท่ากับรากที่สองของเลขฐาน ฉะนั้น จำนวนใดที่มีเลขชี้กําลังเป็นเศษส่วนจะเท่ากับจำนวนนั้นในเครื่องหมายกรณฑ์ ตัวส่วนของเลขชี้กำลังจะเป็นตัวบอกเราว่าต้องหารากที่เท่าไรของจำนวนในเครื่องหมายกรณฑ์ [6]
    • ตัวอย่างเช่น เรารู้ว่า 3 คือรากที่สี่ของ 81 เนื่องจาก
  5. รู้กฎเลขยกกำลังในกรณีที่เลขชี้กำลังซ้อนกัน. กฎนี้กล่าวว่า กล่าวให้ชัดเจนคือเลขชี้กำลังซ้อนกันก็เหมือนนำเลขชี้กำลังมาคูณกัน [7]
    • เมื่อพบเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กําลังเป็นเศษส่วน กฎนี้ก็จะมีหน้าตาเป็นแบบนี้ เนื่องจาก [8]
    • เราจะเลือกหาค่าของจำนวนในเครื่องหมายกรณฑ์ก่อนหรือหาค่าของเลขยกกำลังก่อนก็ได้ อย่างไรก็ตามการหาค่าของจำนวนในเครื่องหมายกรณฑ์ก่อนจะช่วยให้ตัวเลขมีค่าน้อยลง จึงทำให้เราสามารถหาค่าของเลขยกกำลังที่เหลือได้ง่ายขึ้น
    โฆษณา

เกี่ยวกับวิกิฮาวนี้

มีการเข้าถึงหน้านี้ 43,594 ครั้ง

บทความนี้เป็นประโยชน์กับคุณไหม

โฆษณา