ดาวน์โหลดบทความ ดาวน์โหลดบทความ

ปกติการคำนวณความเร็วเฉลี่ยนั้นทำง่ายๆ แค่ใช้สูตร แต่บางครั้งคุณก็ต้องเจอโจทย์ที่ให้ความเร็วแตกต่างกันสองค่าในช่วงระยะเวลาใดๆ หรือภายในระยะทางใดๆ ในตัวอย่างเหล่านี้จะต้องใช้สูตรอื่นในการคำนวณหาความเร็วเฉลี่ยปัญหาแบบนี้อาจใช้ประโยชน์ได้ในชีวิตจริงและมักจะออกในข้อสอบทั่วไปอยู่เรื่อย ฉะนั้นการเรียนรู้สูตรและวิธีการเหล่านี้จะช่วยคุณได้มาก

วิธีการ 1
วิธีการ 1 ของ 5:

โจทย์กำหนดระยะทางหนึ่งกับช่วงเวลาหนึ่งมาให้

ดาวน์โหลดบทความ
  1. ใช้วิธีการนี้ถ้าคุณรู้ว่า:
    • ระยะทางรวมที่คนหรือพาหนะนั้นเดินทางไป และ
    • เวลารวมที่คนๆ นั้นหรือพาหนะนั้นใช้ในการเดินทางให้ได้ระยะทางเท่านั้น
    • ตัวอย่างเช่น: หากธงชัยเดินทางได้ 150 กิโลเมตรภายในเวลา 3 ชั่วโมง ความเร็วเฉลี่ยของเขาอยู่ที่เท่าใด?
  2. สูตรคือ ซึ่ง เท่ากับความเร็วเฉลี่ย, เท่ากับระยะทางรวม และ เท่ากับระยะเวลารวม [1]
  3. จำไว้ว่าคือแทนที่ค่าตัวแปร
    • เช่น ถ้าธงชัยขับรถได้รวม 150 กิโลเมตร สูตรของคุณจะมีหน้าตาเช่นนี้: .
  4. จำไว้ว่าคือแทนที่ค่าตัวแปร
    • เช่น ถ้าธงชัยขับรถได้รวม 3 ชั่วโมง สูตรของคุณจะมีหน้าตาเช่นนี้: .
  5. นี่จะให้ค่าความเร็วเฉลี่ยต่อหน่วยเวลา ซึ่งมักจะคิดเป็นชั่วโมง
    • เช่น:


      ดังนั้น ถ้าธงชัยเดินทาง 150 กิโลเมตรในเวลา 3 ชั่วโมง ความเร็วเฉลี่ยของเขาจะเท่ากับ 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
    โฆษณา
วิธีการ 2
วิธีการ 2 ของ 5:

โจทย์กำหนดระยะทางหลายระยะกับช่วงเวลาแตกต่างกันมาให้

ดาวน์โหลดบทความ
  1. ใช้วิธีการนี้ถ้าคุณรู้ว่า:
    • ระยะทางหลายระยะที่เดินทางไป และ
    • ระยะเวลาที่ใช้ในการเดินทางไปในแต่ละระยะ [2]
    • ตัวอย่างเช่น: หากธงชัยเดินทาง 150 กิโลเมตรภายในเวลา 3 ชั่วโมง, 120 กิโลเมตรภายในเวลา 2 ชั่วโมง และ 70 กิโลเมตรภายในเวลา 1 ชั่วโมง ความเร็วเฉลี่ยของเขาในการเดินทางทั้งหมดอยู่ที่เท่าใด?
  2. สูตรคือ โดยที่ เท่ากับความเร็วเฉลี่ย, เท่ากับระยะทางรวม และ เท่ากับระยะเวลารวม [3]
  3. ให้บวกระยะทางทั้งหมดที่ใช้เดินทางไป แล้วแทนค่าในตัวแปร ในสูตร
    • เช่น หากธงชัยเดินทาง 150 กิโลเมตร, 120 กิโลเมตร และ 70 กิโลเมตร คุณจะหาความเร็วรวมได้โดยการบวกระยะทางทั้งสามเข้าด้วยกัน: ดังนั้น สูตรของคุณจะมีหน้าตาเช่นนี้: .
  4. ให้บวกระยะเวลาทั้งหมดที่ใช้เดินทางไป แล้วแทนค่าในตัวแปร ในสูตร
    • เช่น หากธงชัยเดินทาง 3 ชั่วโมง, 2 ชั่วโมง และ 1ชั่วโมง คุณจะหาความเร็วรวมได้โดยการบวกระยะเวลาทั้งสามเข้าด้วยกัน: ดังนั้น สูตรของคุณจะมีหน้าตาเช่นนี้: .
  5. หารระยะทางรวมด้วยระยะเวลารวมที่ใช้ในการเดินทาง. ก็จะได้ค่าความเร็วเฉลี่ย
    • เช่น:

      หากธงชัยเดินทาง 150 กิโลเมตรภายในเวลา 3 ชั่วโมง 120 กิโลเมตรภายในเวลา 2 ชั่วโมง และ 70 กิโลเมตรภายในเวลา 1 ชั่วโมง ความเร็วเฉลี่ยของเขาในการเดินทางทั้งหมดจะอยู่ที่ราว 57 กม./ชม.
    โฆษณา
วิธีการ 3
วิธีการ 3 ของ 5:

โจทย์กำหนดความเร็วหลายค่าภายในช่วงเวลาแตกต่างกันมาให้

ดาวน์โหลดบทความ
  1. ใช้วิธีการนี้ถ้าคุณรู้ว่า:
    • ความเร็วแตกต่างกันที่ใช้ในการเดินทาง และ
    • ระยะเวลาที่ใช้ความเร็วในการเดินทางไปในแต่ละระยะ [4]
    • ตัวอย่างเช่น: หากธงชัยเดินทาง 50 กม./ชม. เป็นเวลา 3 ชั่วโมง, 60 กม./ชม. เป็นเวลา 2 ชั่วโมง และ 70 กม./ชม. เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ความเร็วเฉลี่ยของเขาในการเดินทางทั้งหมดอยู่ที่เท่าใด?
  2. สูตรคือ โดยที่ เท่ากับความเร็วเฉลี่ย, เท่ากับระยะทางรวม และ เท่ากับระยะเวลารวม [5]
  3. จะหาได้ก็ด้วยการแยกความเร็วในแต่ละช่วงเวลา มันจะให้คุณทราบระยะทางที่เดินทางไปได้ในแต่ละช่วงเวลา นำระยะทางเหล่านี้มารวมกัน แล้วแทนค่าในตัวแปร ในสูตร
    • เช่น:
      50 กม./ชม. เป็นเวลา 3 ชั่วโมง =
      60 กม./ชม. เป็นเวลา 2 ชั่วโมง =
      70 กม./ชม. เป็นเวลา 1 ชั่วโมง =
      ดังนั้น ระยะทางรวมคือ ดังนั้น สูตรของคุณจะมีหน้าตาเช่นนี้:
  4. จะหาได้ก็ด้วยการรวมแต่ละช่วงเวลาที่ใช้ในการเดินทาง แล้วแทนค่าในตัวแปร ในสูตร
    • เช่น หากธงชัยเดินทาง 3 ชั่วโมง, 2 ชั่วโมง และ 1ชั่วโมง คุณจะหาความเร็วรวมได้โดยการบวกระยะเวลาทั้งสามเข้าด้วยกัน: ดังนั้น สูตรของคุณจะมีหน้าตาเช่นนี้: .
  5. หารระยะทางรวมด้วยระยะเวลารวมที่ใช้ในการเดินทาง. ก็จะได้ค่าความเร็วเฉลี่ย
    • เช่น:

      หากธงชัยเดินทาง 50 กม./ชม. เป็นเวลา 3 ชั่วโมง, 60 กม./ชม. เป็นเวลา 2 ชั่วโมง และ 70 กม./ชม. เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ความเร็วเฉลี่ยของเขาในการเดินทางทั้งหมดอยู่ที่ราว 57 กม./ชม.
    โฆษณา
วิธีการ 4
วิธีการ 4 ของ 5:

โจทย์กำหนดความเร็วสองค่าในระยะเวลาครึ่งหนึ่ง

ดาวน์โหลดบทความ
  1. ใช้วิธีการนี้ถ้าคุณรู้ว่า:
    • ความเร็วที่แตกต่างกันสองค่าขึ้นไป และ
    • ความเร็วเหล่านั้นใช้ระยะเวลาเท่ากัน
    • ตัวอย่างเช่น หากธงชัยเดินทาง 40 กม./ชม. เป็นเวลา 2 ชั่วโมงและ 60 กม./ชม. เป็นเวลาอีก 2 ชั่วโมง ความเร็วเฉลี่ยที่เขาใช้ตลอดการเดินทางจะเป็นเท่าไร?
  2. วางสูตรในการหาความเร็วเฉลี่ยโดยที่ใช้ความเร็วสองค่าในเวลาที่เท่ากัน. สูตรคือ โดยที่ เท่ากับความเร็วเฉลี่ย, เท่ากับความเร็วที่ใช้ในครึ่งช่วงแรก และ เท่ากับความเร็วที่ใช้ในครึ่งช่วงหลัง [6]
    • ในโจทย์รูปแบบนี้ ไม่สำคัญว่าความเร็วแต่ละช่วงจะเดินทางไปได้ไกลแค่ไหน ตราบเท่าที่ความเร็วแต่ละช่วงถูกใช้ในระยะเวลาที่เท่ากัน
    • คุณสามารถดัดแปลงสูตรถ้ากำหนดค่าความเร็วเป็นสามค่าหรือมากกว่านั้นโดยใช้เวลาเท่ากันได้ เช่น หรือ ตราบเท่าที่ใช้เวลาไปเท่ากัน สูตรของคุณก็เพิ่มตามรูปแบบเช่นว่านี้
  3. ไม่สำคัญว่าคุณจะแทนค่าตัวแปรไหนเป็น และตัวแปรไหนเป็น
    • เช่น ถ้าค่าความเร็วแรกคือ 40 กม./ชม. และค่าความเร็วที่สองคือ 60 กม./ชม. สูตรของคุณจะมีหน้าตาเช่นนี้: .
  4. แล้วหารด้วยสอง นี่จะได้ค่าความเร็วเฉลี่ยของตลอดการเดินทาง
    • เช่น:



      ดังนั้น หากธงชัยเดินทาง 40 กม./ชม. เป็นเวลา 2 ชั่วโมงและ 60 กม./ชม. เป็นเวลาอีก 2 ชั่วโมง ความเร็วเฉลี่ยที่เขาใช้จะเป็น 50 กม./ชม.
    โฆษณา
วิธีการ 5
วิธีการ 5 ของ 5:

โจทย์กำหนดความเร็วสองค่าในระยะทางครึ่งหนึ่ง

ดาวน์โหลดบทความ
  1. ใช้วิธีการนี้ถ้าคุณรู้ว่า:
    • ความเร็วที่แตกต่างกันสองค่าขึ้นไป และ
    • ความเร็วเหล่านั้นใช้ระยะทางเท่ากัน
    • ตัวอย่างเช่น หากธงชัยเดินทาง 160 กิโลเมตรไปยังสวนน้ำด้วยความเร็ว 40 กม./ชม. และขับกลับบ้านระยะทาง 160 กิโลเมตรด้วยความเร็ว 60 กม./ชม. ความเร็วเฉลี่ยที่เขาใช้จะเป็นเท่าใด?
  2. วางสูตรในการหาความเร็วเฉลี่ยโดยที่ใช้ความเร็วสองค่าในระยะทางที่เท่ากัน. สูตรคือ โดยที่ เท่ากับความเร็วเฉลี่ย, เท่ากับความเร็วที่ใช้ในระยะทางครึ่งช่วงแรก และ เท่ากับความเร็วที่ใช้ในระยะทางครึ่งช่วงหลัง [7]
    • โจทย์ประเภทนี้ที่ต้องใช้วิธีนี้มักจะมีคำถามแบบการเดินทางไปกลับ
    • ในโจทย์รูปแบบนี้ ไม่สำคัญว่าความเร็วแต่ละช่วงจะเดินทางไปได้ไกลแค่ไหน ตราบเท่าที่ความเร็วแต่ละช่วงถูกใช้ในระยะทางที่เท่ากัน
    • คุณสามารถดัดแปลงสูตรถ้ากำหนดค่าความเร็วเป็นสามค่าหรือมากกว่านั้นโดยใช้ระยะทางเท่ากันได้ เช่น . [8]
  3. ไม่สำคัญว่าคุณจะแทนค่าตัวแปรไหนเป็น และตัวแปรไหนเป็น
    • เช่น ถ้าค่าความเร็วแรกคือ 40 กม./ชม. และค่าความเร็วที่สองคือ 60 กม./ชม. สูตรของคุณจะมีหน้าตาเช่นนี้: .
  4. เลขที่ได้ควรเป็นตัวเศษของเศษส่วน
    • เช่น:

      .
  5. เลขที่ได้จะเป็นตัวส่วนของเศษส่วน
    • เช่น:

      .
  6. นี่จะให้ความเร็วเฉลี่ยสำหรับการเดินทางทั้งหมด
    • เช่น:

      ดังนั้น หากธงชัยเดินทาง 160 กิโลเมตรไปยังสวนน้ำด้วยความเร็ว 40 กม./ชม. และขับกลับบ้านระยะทาง 160 กิโลเมตรด้วยความเร็ว 60 กม./ชม. ความเร็วเฉลี่ยที่เขาใช้จะเป็น 48 กม./ชม.
    โฆษณา

เกี่ยวกับวิกิฮาวนี้

มีการเข้าถึงหน้านี้ 152,297 ครั้ง

บทความนี้เป็นประโยชน์กับคุณไหม

โฆษณา