ดาวน์โหลดบทความ ดาวน์โหลดบทความ

จำนวนคละหรือเศษคละคือจำนวนที่ประกอบด้วยจำนวนเต็มและเศษส่วน [1] เราสามารถหารจำนวนคละได้ แต่ต้องแปลงจำนวนคละเป็นเศษเกินก่อน พอจำนวนคละถูกแปลงเป็นเศษเกินแล้ว เราก็จะสามารถหารจำนวนคละได้เหมือนที่เราหารเศษส่วนปกติ

ส่วน 1
ส่วน 1 ของ 3:

แปลงจำนวนคละเป็นเศษเกิน

ดาวน์โหลดบทความ
  1. [2] เราต้องนำจำนวนเต็มมาคูณกับตัวส่วนของจำนวนคละ นำจำนวนเต็มแต่ละจำนวนมาคูณกับตัวส่วนในจำนวนคละของมัน เมื่อคูณกันเสร็จแล้ว พักผลคูณไว้ก่อน ผลคูณจะเป็นแค่ส่วนหนึ่งของตัวเศษใหม่
    • ตัวอย่างเช่น โจทย์ของเราคือ เมื่อนำจำนวนเต็มมาคูณกับตัวส่วนของจำนวนคละ ก็จะได้เป็น และ
  2. [3] นำตัวเศษไปบวกกับผลคูณ นำตัวเศษแต่ละตัวไปบวกกับผลคูณที่ได้จากการนำจำนวนเต็มมาคูณกับตัวส่วนของมัน ผลบวกที่ได้จะเป็นตัวเศษของเศษเกิน
    • จากตัวอย่างที่ยกมา และ
  3. [4] นำผลบวกที่ได้ของแต่ละจำนวนไปวางไว้บนตัวส่วนเดิมของมัน ปล่อยตัวส่วนของแต่ละจำนวนไว้ตามเดิม เราได้เศษเกินเพื่อนำมาใช้ในการหารแล้ว
    • จากตัวอย่างที่ยกมา กลายเป็น และ กลายเป็น
  4. ถ้าโจทย์ของเรามีจำนวนใดจำนวนหนึ่งเป็นจำนวนเต็ม เราต้องแปลงจำนวนเต็มเป็นเศษส่วน นำจำนวนเต็มมาเป็นตัวเศษของเศษส่วนเพื่อแปลงจำนวนเต็มเป็นเศษส่วน ตัวส่วนของจำนวนเต็มคือ 1 [5]
    • ตัวอย่างเช่น .
    โฆษณา
ส่วน 2
ส่วน 2 ของ 3:

หารเศษเกิน

ดาวน์โหลดบทความ
  1. นำเศษเกินที่เราได้คำนวณไว้แล้วในส่วนที่ 1 มาเขียนโจทย์การหารใหม่
    • จากตัวอย่างที่ยกมา เมื่อเขียนใหม่จะได้เป็น .
  2. [6] ในการหาส่วนกลับของเศษส่วนจำนวนหนึ่งเราต้อง “สลับ” ให้ตัวเศษกลายเป็นตัวส่วนและตัวส่วนกลายเป็นตัวเศษ [7] จากนั้นเปลี่ยนเครื่องหมายหารเป็นเครื่องหมายคูณ [8]
    • จากตัวอย่างที่ยกมา ถ้าเราหาส่วนกลับของ ก็จะได้เป็น ฉะนั้น ก็จะกลายเป็น
  3. นำตัวเศษมาคูณกันเหมือนกับที่เรานำจำนวนเต็มมาคูณกัน ผลคูณที่ได้จะเป็นตัวเศษของคำตอบเรา [9]
    • จากตัวอย่างที่ยกมา ถ้าเราต้องการหาผลคูณของ นำตัวเศษมาคูณกัน ก็จะได้เป็น: .
  4. นำตัวส่วนมาคูณกันเหมือนกับที่เรานำจำนวนเต็มมาคูณกัน ผลคูณที่ได้จะเป็นตัวส่วนของคำตอบเรา [10]
    • จากตัวอย่างที่ยกมา ถ้าเราต้องการหาผลคูณของ นำตัวส่วนมาคูณกัน ก็จะได้เป็น: ประกอบตัวเศษและตัวส่วนเข้าด้วยกัน คำตอบของเราก็จะกลายเป็น
  5. ในการทำคำตอบให้เป็นเศษส่วนอย่างต่ำหรือการลดทอนคำตอบให้เป็นเศษส่วนอย่างต่ำเราต้องหาตัวประกอบที่มากที่สุด (นอกจาก 1) ซึ่งตัวเศษและตัวส่วนมีร่วมกัน จากนั้นหารตัวเศษและตัวส่วนด้วยตัวประกอบนั้น อ่านด้านล่างนี้เพื่อจะได้รู้ขั้นตอนอย่างละเอียดยิ่งขึ้น
    • จากตัวอย่างที่ยกมา และ สามารถหารด้วย ได้


      ฉะนั้น
    โฆษณา
ส่วน 3
ส่วน 3 ของ 3:

แปลงเศษเกินกลับไปเป็นจำนวนคละ

ดาวน์โหลดบทความ
  1. ถ้าไม่มีเศษเหลือ คำตอบของเราก็จะเป็นจำนวนเต็ม ไม่ใช่จำนวนคละ และเราไม่ต้องทำอะไรอีกแล้ว แต่ถ้าเรามีเศษเหลือ เราก็จะต้องทำขั้นตอนต่อไป แต่ตอนนี้พักไว้ก่อน ผลหารที่ได้จากการหารตัวเศษด้วยตัวส่วนจะเป็นจำนวนเต็มของจำนวนคละ [11]
    • จากตัวอย่างที่ยกมา มีเศษที่เหลือคือ ฉะนั้นจำนวนเต็มของจำนวนคละจะเป็น 2
  2. วางเศษที่เหลือไว้บนตัวส่วนเดิม แล้วเราก็จะได้ส่วนประกอบที่เป็นเศษส่วนของจำนวนคละ
    • จากตัวอย่างที่ยกมาตัวส่วนเดิมของเราคือ และเศษที่เหลือของเราคือ ส่วนประกอบที่เป็นเศษส่วนของจำนวนคละคือ .
  3. เมื่อประกอบเข้าด้วยกันแล้ว เราก็จะได้ผลหารของโจทย์ข้างต้น
    โฆษณา

เกี่ยวกับวิกิฮาวนี้

มีการเข้าถึงหน้านี้ 40,088 ครั้ง

บทความนี้เป็นประโยชน์กับคุณไหม

โฆษณา