ดาวน์โหลดบทความ ดาวน์โหลดบทความ

โปรเจสเตอโรนเป็นสเตียรอยด์ฮอร์โมนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยเกิดจากการบริโภคคลอเรสเตอรอล [1] ซึ่งโปรเจสเตอโรนในระดับปกติจะช่วยรักษาความสมดุลในฮอร์โมนอย่างมีสุขภาพ และมันมีบทบาทสำคัญในการผลิตสารเคมีชนิดอื่นที่ร่างกายต้องการ เช่น คอร์ติซอล และฮอร์โมนเพศชายอย่างเทสโทสเทอโรน ส่วนโปรเจสเตอโรนในระดับต่ำกว่าปกติจะทำให้เกิดปัญหากับรอบเดือน การตั้งครรภ์ และอาการทั่วไปเกี่ยวกับวัยหมดระดู และยังสามารถรักษาด้วยการจ่ายยาและการเปลี่ยนวิถีชีวิตได้

ส่วน 1
ส่วน 1 ของ 4:

ใช้โปรเจสเตอโรนช่วยในการตั้งครรภ์

ดาวน์โหลดบทความ
  1. คุยกับนรีแพทย์เกี่ยวกับการเพิ่มโปรเจสเตอโรน. ผู้หญิงที่เพิ่งแท้งอีกรอบหรือแท้งอย่างไม่มีสาเหตุ จะสามารถรักษาได้ด้วยโปรเจสเตอโรน รักษาครรภ์ครั้งต่อไปได้ [2]
    • หยุดการแท้งล่วงหน้า โดยการขาดโปรเจสเตอโรนนั้นไม่ใช่สาเหตุในการแท้งทุกอย่าง แต่ผลงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์บอกว่าต้องมีโปรเจสเตอโรนที่เพียงพอในการสนับสนุนการตั้งครรภ์ระยะแรก [3]
    • ระดับโปรเจสเตอโรนจะเพิ่มขึ้นโดยธรรมชาติระหว่างรอบเดือน เมื่อมีการตกไข่ ซึ่งจะปล่อยให้ผนังมดลูกหนาขึ้นเพื่อรองรับการตั้งครรภ์ แล้วเรียกว่า ระยะหลังไข่ตก (ลูเตียล) [4]
    • เมื่อปล่อยให้ไข่ปฏิสนธิแล้ว มดลูกจะเตรียมปกป้องไข่เหมือนตอนที่มันเล็กจนโต โดยหลังจาก 2 – 3 อาทิตย์แรก รกจะเข้ามาแทนที่ ซึ่งมันจะผลิตฮอร์โมนแลสารอาหารเพิ่มเติมที่ต้องการ [5]
    • ผู้หญิงบางคนมีโปรเจสเตอโรนในระดับต่ำกว่าปกติ โดยงานวิจัยแนะนำว่าระดับที่ต่ำใน 2 – 3 อาทิตย์แรกของการตั้งครรภ์จะทำให้เยื่อบุมดลูกไม่พอสำหรับการตั้งครรภ์ ซึ่งทำเกิดการแท้งได้ แต่ก็ยังมีหลักฐานอ้างอิงไม่เพียงพอ [6]
    • โปรเจสเตอโรนในระดับที่ไม่เพียงพอนั้นต้องการการสนับสนุนในระยะแรกของการตั้งครรภ์ และในบางครั้งก็ถูกเรียกว่า เป็นความบกพร่องของระยะลูเทียล [7]
  2. โดยการใช้มันจะช่วยหยุดการแท้ง แต่ก็ขึ้นอยู่กับสาเหตุด้วย [8]
    • บทความทางวิทยาศาสตร์บอกว่าการใช้โปรเจสเตอโรนทางช่องคลอด ผ่านการสอดหรือยาเหน็บทวารหรือช่องคลอด เพื่อช่วยรักษาเยื่อบุมดลูกในการตั้งครรภ์ [9]
    • มีวิธีอื่นที่จะจัดการกับโปรเจสเตอโรนด้วย เช่น การฉีดยา การกิน และทาครีม สำหรับผู้หญิงที่มีความบกพร่องของระยะลูเทียล และเพิ่งมีการแท้งอีกครั้งหรือแท้งโดยไม่มีสาเหตุ ซึ่งนี่ถือเป็นวิธีที่แนะนำ [10]
  3. กินอาหารเสริมโปรเจสเตอโรนระหว่างการใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์หรือ ART. โดยมันจะช่วยทำให้เกิดการตั้งครรภ์ โดยการเอาไข่ออกจากผู้หญิง แล้วผสมมันกับสเปิร์มในห้องทดลองที่จัดไว้ แล้วนำกลับเข้าไปในร่างกายผู้หญิงคนเดิมหรือของผู้หญิงคนอื่น [11]
    • มันมีหลายวิธีที่จะช่วยคู่รักในการตั้งครรภ์ โดย ART เป็นวิธีเดียวเท่านั้น ซึ่งผู้หญิงที่เข้าร่วมการทำ ART นั้นต้องมีการเสริมฮอร์โมน เช่น โปรเจสเตอโรน เพื่อช่วยให้ร่างกายผลิตสิ่งแวดล้อมที่ดีเพื่อรักษาครรภ์ไว้ [12]
  4. ใช้การฉีดยาหรือจัดการทางช่องคลอดโปรเจสเตอโรน. โดยไม่ว่าจะเป็นการฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อหรือผลิตภัณฑ์เหน็บที่มีประสิทธิภาพในการตั้งระดับที่สูงขึ้นโปรเจสเตอโรน ซึ่งเป็นที่ต้องการในระหว่างการทำ ART [13]
    • การฉีดโปรเจสเตอโรนนั้นใช้บ่อย แต่ก็มีความเสี่ยงที่เพิ่มความซับซ้อนขึ้น เพราะโปรเจสเตอโรนซึมซับได้เร็ว และเปลี่ยนเป็นสารเคมีอื่น [14]
    • การเปลี่ยนระบบการทำคลอดโดยการฉีดยา ซึ่งโปรเจนเตอโรนที่เคลื่อนไหวสามารถคงอยู่ในรูปแบบของสารเคมีที่ต้องการตราบเท่าที่เป็นไปได้ โดยอาจรวมถึงการอยู่ในรูปแบบของของเหลว หรือพาหนะ ย2าที่มีประสิทธิภาพ โดยใช้น้ำมัน เช่น น้ำมันถั่วลิสง แต่ห้ามใช้ในผู้ที่แพ้ถั่วลิสง [15]
    • ความซับซ้อนที่เป็นไปได้ในการฉีดโปรเจสเตอโรนก็คือ การแพ้ส่วนประกอบที่ไม่เคลื่อนไหว ฝี และเจ็บบริเวณที่ฉีด และเลือดไหลเข้าไปเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อโดยไม่เป็นที่ต้องการ [16]
  5. จัดการโปรเจสเตอโรนโดยการใช้ผลิตภัณฑ์เจลทาช่องคลอด. โดยมันจะผลิตโปรเจสเตอโรนในช่องคลอดในระดับต่ำ แต่จะมีระดับสูงกว่าในเยื่อบุโพรงมดลูก ซึ่งถือเป็นเป้าหมายหลัก [17]
    • ผลิตภัณฑ์นี้ออกแบบมาเพื่อช่วยขนถ่ายโปรเจสเตอโรน และมีโดยเฉพาะในกลุ่มผู้หญิงที่ใช้ ART ซึ่งผลิตภัณฑ์เจลโปรเจสเตอโรนถูกวางจำหน่ายภายใต้ยี่ห้อ Crinone® [18]
    • Crinone® มีทั้งแบบที่มีโปรเจสเตอโรน 4% และ 8% โดยแนะนำให้ใช้ 8% สำหรับผู้หญิงที่ทำ ART [19]
    • หลีกเลี่ยงการใช้ Crinone® ในบางสถานการณ์ คือ ไม่ควรใช้ถ้าแพ้ผลิตภัณฑ์โปรเจสเตอโรนทุกชนิด มีเลือดออกในช่องคลอดอย่างผิดปกติ เคยมีปัญหาเกี่ยวกับตับ มะเร็งเต้านมหรืออวัยวะสืบพันธุ์ภายใน หรือมีการเกิดลิ่มเลือด ซึ่งถ้าเพิ่งแท้ง ก็ให้ปรึกษาแพทย์ก่อน [20]
  6. ถ้ามีสัญญาณของอาการแพ้ใดๆ คือ ลมพิษ หายใจลำบาก หน้า ปาก หรือคอบวมให้รีบรับการรักษาโดยด่วน [21]
    • การดูแลฉุกเฉินทางการแพทย์ก็ยังต้องระวัง ถ้าเคยปวดน่องหรือช่องอก ปวดหัวในทันทีทันใด มีอาการเหน็บชาหรืออ่อนแรง โดยเฉพาะเมื่อสังเกตว่ามันเป็นแค่ด้านเดียวของร่างกาย ลมหายใจสั้นๆ หายใจลำบาก หรือไอเป็นเลือด แต่การดูแลฉุกเฉินก็ยังเป็นที่ต้องการเกี่ยวกับการมองเห็น หรือการพูด รู้สึกมึนงง เป็นลม หรือปัญหาเกี่ยวกับการทรงตัว การมองเห็นหรือคำพูดที่เปลี่ยนไป จุกเสียดที่หน้าอก ความเจ็บที่แผ่ไปทั่วแขนหรือไหล่ ความอ่อนแรงหรือเหน็บชาที่แขนหรือขา ปวดหรือบวมที่ขา วิงเวียน อาเจียน ปวดท้อง ไม่อยากอาหาร มีไข้ต่ำ หรือปัสสาวะที่เปลี่ยนไป [22]
    โฆษณา
ส่วน 2
ส่วน 2 ของ 4:

รักษาปัญหารอบเดือน

ดาวน์โหลดบทความ
  1. มันคือศัพท์ทางการแพทย์ที่ใช้เมื่อผู้หญิงไม่มีรอบเดือน ในช่วงที่ควรมี [23]
    • สามารถแบ่งเป็นได้ทั้งตอนต้นและตอนปลาย โดยในตอนต้นจะเป็นการขาดช่วงในเด็กผู้หญิงอายุระหว่าง 15 ถึง 16 ปี ที่รอบเดือนหายไประหว่างการเปลี่ยนแปลงที่เพิ่มขึ้นปกติ [24]
    • โดยจะถูกวินิจฉัยตอนปลายเมื่อผู้หญิงที่มีรอบเดือนเป็นปกติ แต่หายไปในช่วงที่ควรมี [25]
    • สาเหตุของตอนปลายในหลายๆ กรณีจะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงชีวิตประจำวัน น้ำหนักลดมากเกินไป การกินที่ผิดปกติ การออกกำลังกายที่มากเกินไป ความเครียด และการตั้งครรภ์ [26]
    • สาเหตุอื่นของตอนปลายอาจรวมถึงการกินยารักษาโรคอื่นๆ เช่น ยารักษาโรคจิตเภท หรือเคมีบำบัดที่ใช้รักษามะเร็ง รวมทั้งอาการอื่นๆ คือ ภาวะถุงน้ำในรังไข่หลายใบ การทำงานของต่อมไทรอยด์ผิดปกติ และเนื้องอกที่พบบริเวณต่อมใต้สมอง [27]
  2. คุยกับหมอเพื่อตัดสินใจถึงสาเหตุของการขาดรอบเดือน. โดยหมอจะทำการทดลอง และหาว่ามีอาการอะไรเป็นสาเหตุ
    • หมออาจจะสั่งอาหารเสริมโปรเจสเตอโรนในบางกรณี เพื่อแก้ปัญหา เพราะมันจะช่วยให้เลือดที่เหมือนกับประจำเดือนออกมา แต่การขาดรอบเดือน ก็ไม่จำเป็นต้องขาดโปรเจสเตอโรนเสมอไป [28]
  3. การรักษาโดยยารับประทาน การฉีดโปรเจสเตอโรนใน หรือเจลทาช่องคลอดระยะสั้น อาจถูกจ่ายให้เพื่อปรับฮอร์โมนให้สมดุล และทำให้รอบเดือนกลับมาได้ [29]
    • ถ้ายังมีปัญหากับรอบเดือนที่ผิดปกติ หมออาจจะจ่ายยาคุมที่มีโปรเจสเตอโรนเพื่อช่วยทำให้รอบเดือนกลับมาเป็นปกติได้ใหม่ โดยเขาจะดูความก้าวหน้าเพื่อตัดสินใจเลือกเวลาที่ดีที่สุดในการหยุดยา [30]
  4. หาความช่วยเหลือทางการแพทย์ทันที เมื่อมีอาการแพ้. ถ้ามีสัญญาณของอาการแพ้ใดๆ คือ ลมพิษ หายใจลำบาก หน้า ปาก หรือคอบวมให้รีบรับการรักษาโดยด่วน [31]
    โฆษณา
ส่วน 3
ส่วน 3 ของ 4:

บ่งบอกการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน

ดาวน์โหลดบทความ
  1. ถามหมอเกี่ยวกับการรักษาฮอร์โมนของภาวะหมดระดู. โดยการใช้รักษาด้วยการกินฮอร์โมนทดแทนที่มีปริมาณของเอสโตรเจนและโปรเจสเตอเจน หรืออย่างอื่นที่ใกล้เคียงในปริมาณที่เล็กน้อย ถูกใช้เป็นยารักษาฮอร์โมนของภาวะหมดระดูแทนแล้ว [32]
    • ใช้โปรเจสเตอโรนรักษาอาการ ภาวะก่อนหมดประจําเดือนที่มีประจําเดือนมาไม่สม่ำเสมอหรือภาวะหมดระดู โดยผู้หญิงบางคนเริ่มสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงที่มีความสอดคล้องกับภาวะหมดระดู แม้กระทั่งก่อนจะหมดการมีรอบเดือน ซึ่งนี่เรียกว่า “ภาวะก่อนหมดประจําเดือนที่มีประจําเดือนมาไม่สม่ำเสมอ” [33]
    • ผลิตภัณฑ์โปรเจสเตอโรนสามารถใช้เพื่อจัดการกับอาการ ภาวะก่อนหมดประจําเดือนที่มีประจําเดือนมาไม่สม่ำเสมอ ในผู้หญิงบางคนได้ [34]
    • จากงานวิจัยได้มีสนับสนุนให้ใช้อาหารเสริมโปรเจสเตอโรนในระหว่างนี้ เพราะระดับฮอร์โมนธรรมชาติของเพศหญิงจะเริ่มเปลี่ยน [35]
  2. โดยมีหลากหลายแบบ คือ ยาเม็ด เจลทาและที่เหน็บช่องคลอด การฉีดยา และครีมทา ซึ่งการจ่ายครีมทานั้น เพื่อช่วยรักษาอาการของภาวะก่อนหมดประจําเดือนที่มีประจําเดือนมาไม่สม่ำเสมอ [36]
    • ถูครีมลงบนฝ่ามือ ผ่าเท้า หรือบริเวณอื่นที่ผิวนุ่มในปริมาณเล็กน้อย วันละ 1 หรือ 2 ครั้ง [37]
  3. ใช้ผลิตภัณฑ์ผสมที่มีทั้งเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรน. อาการที่เกี่ยวกับภาวะก่อนหมดประจําเดือนที่มีประจําเดือนมาไม่สม่ำเสมอ และภาวะหมดระดู ซึ่งจะทำลายกิจวัตรประจำวันปกติ และอาจร้ายแรงถึงขั้นต้องรักษา [38]
    • พูดกับหมอเพื่อตัดสินใจว่าผลิตภัณฑ์ที่มีทั้งเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนนี้ จะช่วยเพิ่มระดับโปรเจสเตอโรนตามความต้องการของร่างกาย และยังรักษาสมดุลทั้งสองฮอร์โมน
    • ผู้หญิงที่มดลูกต้องการทั้งเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรน เพื่อรักษาอาการภาวะหมดระดูด้วยฮอร์โมน ส่วนผู้หญิงไม่มีมดลูกจะไม่ต้องการโปรเจสเตอโรนเพื่อรักษาอาการนี้ และควรใช้แค่เอสโตรเจนเท่านั้น โดยการใช้ผลิตภัณฑ์ผสมทั้งที่ไม่มีมดลูก อาจจะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดมะเร็งเต้านม โรคหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน หรือโรคหลอดเลือดในสมอง [39]
  4. ผู้ชายก็อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงระดับฮอร์โมนตามธรรมชาติด้วย [40]
    • โปรเจสเตอโรนจะมีบทบาทสำคัญในการผลิตเทสโทสเทอโรนในผู้ชาย [41]
    • เมื่อผู้ชายแก่ตัว โปรเจสเตอโรนและเทสโทสเทอโรนจะลดระดับลง และทำให้ฮอร์โมนที่จะเปลี่ยนไปสร้างเอสโตรเจนให้เป็นฮอร์โมนเด่นมีความสมดุล [42]
    • อาการที่พบในผู้ชายเมื่อระดับโปรเจสเตอโรนลดลง คือ ความเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ผมร่วง น้ำหนักขึ้น ความรู้สึกเมื่อยล้า และความหดหู่ [43]
    • ปรึกษาหมอถ้าเป็นผู้ชายและไม่สังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ แล้วหมอก็จะทดสอบเพื่อตัดสินใจว่าระดับฮอร์โมนที่แตกต่าง เพื่อดูว่าจะรักษาแบบไหนดีสุด [44]
  5. ถ้าหมอจ่ายยาที่มีทั้งโปรเจสเตอโรน หรือมีทั้งเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรน ให้หาหมอทันที ถ้าพบสัญญาณของการแพ้ โดยสัญญาณก็มี ลมพิษ หายใจลำบาก หน้า ปาก หรือคอบวม [45]
    • การรักษาฉุกเฉินก็ต้องระวัง ถ้าเคยปวดน่องหรือช่องอก ปวดหัวทันที มีอาการเหน็บชาหรืออ่อนแรง โดยเฉพาะเมื่อสังเกตว่ามันเป็นแค่ด้านเดียวของร่างกาย ลมหายใจสั้นๆ หายใจลำบาก หรือไอเป็นเลือด แต่การดูแลฉุกเฉินก็ยังเป็นที่ต้องการเกี่ยวกับการมองเห็น หรือการพูด รู้สึกมึนงง เป็นลม หรือปัญหาเกี่ยวกับการทรงตัว การมองเห็นหรือคำพูดที่เปลี่ยนไป จุกเสียดที่หน้าอก ความเจ็บที่แผ่ไปทั่วแขนหรือไหล่ ความอ่อนแรงหรือเหน็บชาที่แขนหรือขา ปวดหรือบวมที่ขา วิงเวียน อาเจียน ปวดท้อง ไม่อยากอาหาร มีไข้ต่ำ หรือปัสสาวะที่เปลี่ยนไป [46]
    โฆษณา
ส่วน 4
ส่วน 4 ของ 4:

สร้างการเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตและกินอาหารเสริม

ดาวน์โหลดบทความ
  1. โดยหมอจะช่วยแนะนำ เฉพาะเจาะจงกับร่างกายและสถานการณ์ที่มี ซึ่งจะช่วยให้เลือกวิธีที่ดีที่สุดในการเพิ่มระดับโปรเจสเตอโรน [47]
    • หมอเป็นแหล่งข้อมูลที่ดีที่สุดในการทำความเข้าใจการเปลี่ยนแปลง หรือปัญหาที่มี โดยพูดคุยเรื่องการกินอาหารเสริมและการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตกับหมอ ซึ่งจะเป็นทางเลือกที่ดีที่สุดสำหรับตัวเอง
  2. มีการพบว่าวิตามินซี วิตามินอี แอล - อาร์จินีน วิตามินบี 6 ซีลีเนียม และเบต้าแคโรทีนช่วยเพิ่มระดับโปรเจสเตอโรน [48]
    • แม้สารอาหารจากแหล่งธรรมชาติที่เป็นส่วนหนึ่งของการกินที่มีสุขภาพดี แต่วิตามินหรืออาหารเสริมที่พบในแหล่งธรรมชาติไม่พอ ที่จะสร้างความแตกต่างในการเพิ่มระดับโปรเจสเตอโรน ดังนั้นให้ลองใช้ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตโดยโรงงาน มีวิตามินและอาหารเสริมเข้มข้นสูง [49]
  3. คุยกับหมอหรือเภสัชกรเพื่อเลือกผลิตภัณฑ์ที่น่าเชื่อถือ. จากงานวิจัยพบว่าการกินตามปริมาณเหล่านี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการเพิ่มระดับโปรเจสเตอโรน:
    • กินวิตามินซีวันละ 750 มิลลิกรัม (เพิ่มโปรเจสเตอโรนได้มากถึง 77%) [50]
    • กินวิตามินอีวันละ 600 มิลลิกรัม (เพิ่มโปรเจสเตอโรน 67% ในคนไข้) [51]
    • กินแอล-อาร์จินีนวันละ 6 กรัม (เพิ่มโปรเจสเตอโรน 77% ในคนไข้) [52]
    • กินวิตามินบี 6 วันละ 200 ถึง 800 มิลลิกรัม (ลดระดับเลือดของเอสโตรเจนและทำให้ความเข้มข้นของโปรเจสเตอโรนเพิ่มขึ้น) [53]
    • เพิ่มซีลีเนียมไปในวิตามินที่กินประจำวัน (พบว่าการกินซีลีเนียมเท่าใดก็ตามจะช่วยเพิ่มระดับโปรเจสเตอโรนได้) [54]
    • กินเบต้าแคโรทีนเพิ่มขึ้น (จากการวิจัยในสัตว์พบว่า มีการเพิ่มระดับโปรเจสเตอโรนและการสืบพันธุ์) [55]
  4. การลดน้ำหนัก หลีกเลี่ยงอาหารมื้อใหญ่ กินโปรตีนสูงและคาร์โบไฮเดรตที่ต่ำ ลดการกินไขมันอิ่มตัว และเพิ่มการกินไขมันไม่อิ่มตัว นั้นเป็นสิ่งที่แนะนำสำหรับการปรับระดับโปรเจสเตอโรนให้ดีขึ้น [56]
    • งานวิจัยในผู้หญิงที่น้ำหนักเกินพบว่าการลดน้ำหนักเล็กน้อยแค่ 5% ของน้ำหนักร่างกายก็เพิ่มระดับโปรเจสเตอโรนได้แล้ว [57]
    • ในการศึกษาจากสัตว์ การควบคุมปริมาณอาหารระหว่างการตั้งครรภ์แรกๆ จะทำให้ฮอร์โมนมีระดับที่สูงขึ้นเพื่อช่วยในการตั้งครรภ์ ซึ่งเป็นกลุ่มที่ห้ามกินมากเกินไป [58]
    • การเปลี่ยนการกินที่มีการกินโปรตีนสูง และคาร์โบไฮเดรตต่ำนั้น พบว่าเกี่ยวกับการเพิ่มของระดับโปรเจสเตอโรนที่ดีในผู้หญิง [59]
    • งานวิจัยจากสัตว์แสดงว่ามีการเพิ่มโปรเจสเตอโรนอย่างเห็นได้ชัด เมื่อมีการกินโอเมก้า 3 และ 6 ที่มีในเมล็ดแฟล็กซ์ที่มากขึ้น และร่วมกับการกินอาหารมีไขมันอิ่มตัวต่ำด้วย [60]
  5. แม้จะมีโปรเจสเตอโรนอยู่น้อย แต่จากงานวิจัยพบว่าหากรับประทานผลิตภัณฑ์จากนมที่มีไขมันสูงวันละ 3 หน่วยบริโภค จะเพิ่มระดับโปรเจสเตอโรนขึ้นอย่างเห็นได้ชัด [61]
  6. นิโคตินที่พบในบุหรี่จะขัดขวางการผลิตฮอร์โมนโดยธรรมชาติของรังไข่ ซึ่งจะก่อกวนการทำงานระบบต่างๆ ด้วย [62]
    • การสูบบุหรี่ยังเป็นความเสี่ยงร้ายแรงด้วย และอาจจะเป็นอันตรายถึงชีวิต รวมทั้งจะให้ผลลัพธ์ที่แย่เมื่อรวมกับผลิตภัณฑ์ที่มีเอสโตรเจนหรือโปรเจสเตอโรน [63]
  7. ความเครียดนั้นถูกจัดเป็นสิ่งที่ซับซ้อน พอกับการรักษาสมดุลของฮอร์โมนให้มีสุขภาพดีเลยทีเดียว [64]
    โฆษณา

เคล็ดลับ

  • แม้บางแหล่งข้อมูลจะบอกว่าอาหารเสริมจากแบลคโคฮอส จะช่วยเพิ่มระดับโปรเจสเตอโรน แต่งานวิจัยบอกว่ามันมีผลหลากหลาย ซึ่งอาจจะแย่ก็ได้ โดยวิทยาลัยอเมริกันสูติแพทย์และขอน (ACOG) ไม่แนะนำให้ใช้มัน [68]
โฆษณา

คำเตือน

  • การตรวจระดับฮอร์โมนนั้นเป็นที่โต้แย้งกันอยู่ เพราะระดับฮอร์โมนจะเปลี่ยนแปลงอย่างน่าตกใจได้ระหว่างวัน ดังนั้นให้ระวังการจ่ายยาของหมอที่ให้กินฮอร์โมนทดแทนจากการดูระดับฮอร์โมน โดยการวิจัยทางคลินิกที่เหมาะสมเพื่อวินิจฉัย และรักษาตามอาการ ไม่ใช่ตั้งขึ้นเอง
โฆษณา
  1. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4476333/
  2. http://www.cdc.gov/art/whatis.html
  3. http://www.cdc.gov/art/whatis.html
  4. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2695240/
  5. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2695240/
  6. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2695240/
  7. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2695240/
  8. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2695240/
  9. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2695240/
  10. http://pi.actavis.com/data_stream.asp?product_group=1690&p=pi&language=E
  11. http://pi.actavis.com/data_stream.asp?product_group=1690&p=pi&language=E
  12. http://www.rxlist.com/endometrin-drug.htm
  13. http://pi.actavis.com/data_stream.asp?product_group=1690&p=pi&language=E
  14. https://www.womenshealth.gov/publications/our-publications/fact-sheet/menstruation.html
  15. http://www.nlm.nih.gov/medlineplus/ency/article/001218.htm
  16. http://www.nlm.nih.gov/medlineplus/ency/article/001219.htm
  17. https://www.womenshealth.gov/publications/our-publications/fact-sheet/menstruation.html
  18. http://www.nlm.nih.gov/medlineplus/ency/article/001219.htm
  19. https://www.womenshealth.gov/publications/our-publications/fact-sheet/menstruation.html
  20. http://www.drugs.com/search.php?searchterm=progesterone
  21. http://www.drugs.com/search.php?searchterm=progesterone
  22. http://www.rxlist.com/endometrin-drug.htm
  23. http://www.drugs.com/search.php?searchterm=progesterone
  24. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3987489/
  25. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3987489/
  26. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3987489/
  27. http://www.drugs.com/search.php?searchterm=progesterone
  28. http://www.drugs.com/search.php?searchterm=progesterone
  29. http://med.monash.edu.au/sphpm/womenshealth/docs/postmenopausal-hormone-therapy.pdf
  30. https://www.nhlbi.nih.gov/news/press-releases/2006/whi-updated-analysis-no-increased-risk-of-breast-cancer-with-estrogen-alone
  31. https://www.bodylogicmd.com/hormones-for-men/progesterone
  32. https://www.bodylogicmd.com/hormones-for-men/progesterone
  33. https://www.bodylogicmd.com/hormones-for-men/progesterone
  34. https://www.bodylogicmd.com/hormones-for-men/progesterone
  35. https://www.bodylogicmd.com/hormones-for-men/progesterone
  36. http://www.rxlist.com/endometrin-drug.htm
  37. http://pi.actavis.com/data_stream.asp?product_group=1690&p=pi&language=E
  38. https://sites.google.com/site/miscarriageresearch/hormones-and-miscarriage/progesterone-research/how-to-increase-progesterone
  39. https://sites.google.com/site/miscarriageresearch/hormones-and-miscarriage/progesterone-research/how-to-increase-progesterone
  40. https://sites.google.com/site/miscarriageresearch/hormones-and-miscarriage/progesterone-research/how-to-increase-progesterone
  41. https://sites.google.com/site/miscarriageresearch/hormones-and-miscarriage/progesterone-research/how-to-increase-progesterone
  42. https://sites.google.com/site/miscarriageresearch/hormones-and-miscarriage/progesterone-research/how-to-increase-progesterone
  43. https://sites.google.com/site/miscarriageresearch/hormones-and-miscarriage/progesterone-research/how-to-increase-progesterone
  44. https://sites.google.com/site/miscarriageresearch/hormones-and-miscarriage/progesterone-research/how-to-increase-progesterone
  45. https://sites.google.com/site/miscarriageresearch/hormones-and-miscarriage/progesterone-research/how-to-increase-progesterone
  46. https://sites.google.com/site/miscarriageresearch/hormones-and-miscarriage/progesterone-research/how-to-increase-progesterone
  47. https://sites.google.com/site/miscarriageresearch/hormones-and-miscarriage/progesterone-research/how-to-increase-progesterone
  48. https://sites.google.com/site/miscarriageresearch/hormones-and-miscarriage/progesterone-research/how-to-increase-progesterone
  49. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/18700853
  50. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/15708782
  51. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/18762721
  52. https://sites.google.com/site/miscarriageresearch/hormones-and-miscarriage/progesterone-research/how-to-increase-progesterone
  53. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/9265557
  54. http://www.myowens.com/owenshealthcare/smoking-birth-control
  55. http://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3079864/
  56. http://www.womenshealth.gov/publications/our-publications/fact-sheet/stress-your-health.html#h
  57. http://www.womenshealth.gov/publications/our-publications/fact-sheet/stress-your-health.html#h
  58. http://www.womenshealth.gov/publications/our-publications/fact-sheet/stress-your-health.html#h
  59. https://umm.edu/health/medical/altmed/herb/black-cohosh

เกี่ยวกับวิกิฮาวนี้

มีการเข้าถึงหน้านี้ 44,684 ครั้ง

บทความนี้เป็นประโยชน์กับคุณไหม

โฆษณา